DSpace Repository

การประเมินความเสี่ยงและความเชื่อถือได้ของ เสถียรภาพของการขุดเจาะบนพื้นผิวดินและใต้ผิวดิน : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author สง่า ตั้งชวาล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม
dc.date.accessioned 2006-08-26T08:31:03Z
dc.date.available 2006-08-26T08:31:03Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2244
dc.description.abstract งานขุดเจาะแหล่งก่อสร้างมีการดำเนินงานทั้งบนพื้นผิวดินและใต้พื้นผิวดิน หลักการที่สำคัญของการประเมินเสถียรภาพงานขุดเจาะมีการทบทวน ผู้วิจัยได้เสนอแนะวิธีการที่ใช้แก้ปัญหาในภาคสนามเชิงความเชื่อถือได้ของแหล่งข้อมูลต้นทาง กับการคาดคะเนความเสี่ยงในการปฏิบัติงานเพื่อให้มีความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสูงขึ้น ควบคู่กับการใช้จ่ายในการขุดเจาะที่เหมาะสม กรณีศึกษาของงานวิจัยโครงการนี้มีหลายรูปแบบของการวิเคราะห์ผล ได้แก่ การพังทลายรูปแบบอาร์กที่ไม่ใช่ส่วนของวงกลม การพังทลายของมวลรูปลิ่ม และการเสริมเสถียรภาพของคันดินถม วิธีการเข้าสู่การวิเคราะห์ความน่าจะเป็นอย่างเป็นระบบมีการเปรียบเทียบกับค่าของตัวเลขปัจจัยความปลอดภัยเชิงกำหนด เนื่องจากความไม่แน่นอนของตัวประกอบที่เกี่ยวข้องทั้งค่าคุณสมบัติมวลสาร ความแปรปรวนในการสุ่มเก็บตัวอย่าง กับวิธีการเข้าสู่ปัญหาเชิงปฏิบัติการ เป้าหมายของงานวิจัยโครงการนี้ ต้องการให้ได้ค่าดัชนีความเชื่อถือได้ ที่หาจากระยะสั้นที่สุดที่วงรีวิกฤตสัมผัสกับพื้นผิวการพังทลาย ซึ่งในการหาผลเฉลยมีการนำโปรแกรมแผ่นตารางมาใช้ ความสะดวกของการประยุกต์กับความชัดเจนในการกำหนดแนวคิด ตลอดจนความหลากหลายในการนำเข้าไปใช้ในการแก้ปัญหาได้กว้างขวางกว่าวิธีการหาค่าปัจจัยความปลอดภัยเชิงอนุรักษ์ จึงสมควรนำหลักการวิเคราะห์ที่อิงค่าความเชื่อถือได้ไปในงานวิเคราะห์กับออกแบบ en
dc.description.abstractalternative Site excavation has been carried on both surface and underground. Main assessment criteria were reviewed. The researcher suggests methods in solving the reliability of uncertainty sources, predication of risk in operation for better safe conditions. These are in accordance with the appropriate cost of excavation. Case studies in this project are in various forms. Result analyses on failures of non-circular arc, wedge mass, reinforcement of embankment. Probability approach method in these analyses need to be systematic, and compare with the deterministic values of factor of safety. Since there are uncertainty of associated factors. These are mass property values, variations in sampling, and approaching the problem in a practical way. The aim of this project is to obtain the reliability index, which is the shortest distance that a critical ellipse contacts the failure surface. In searching for the solution, a spread sheet program is used. The ease of implementation, conceptual clarity, and versatility of theproposed method should enhance the wider use of the more rational reliability-based analysis and design over the conventional factor-of-safety approach. Key Words : excavation stability, factor of safety, risk assessment, reliability index, probability method. en
dc.description.sponsorship กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 26876119 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การขุดเจาะ en
dc.subject การประเมินความเสี่ยง en
dc.title การประเมินความเสี่ยงและความเชื่อถือได้ของ เสถียรภาพของการขุดเจาะบนพื้นผิวดินและใต้ผิวดิน : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative Risk and reliability assessment for stability of surface and underground excavation en
dc.type Technical Report en
dc.email.author fmnstc@kankrow.eng.chula.ac.th, Sanga.T@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record