DSpace Repository

การสร้างและวิเคราะห์ผลของโฟโตไดโอด : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author บรรยง โตประเสริฐพงศ์
dc.contributor.author มนตรี สวัสดิ์ศฤงฆาร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
dc.date.accessioned 2006-08-28T07:24:03Z
dc.date.available 2006-08-28T07:24:03Z
dc.date.issued 2526
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2256
dc.description.abstract โฟโตไดโอดที่มีโครงสร้างต่าง ๆ กันได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อศึกษาเปรียบเทียบลักษณะสมบัติกระแส-แรงดัน ความรู้สึกต่อแสง ความไวของการตอบสนองและผลตอบสนองสัมพัทธ์ต่อสเปกตรัม พบว่าโฟโตไดโอดที่ใช้แว่นผลึกที่มีความต้านทานจำเพาะสูง (3000 โอห์ม-เซนติเมตร) ใช้กระบวนการผลิตที่อุณหภูมิต่ำ และใช้ความหนาของชั้นป้องกันการสะท้อนแสงที่เหมาะสมให้ผลการทดลองเป็นที่น่าพอใจ กล่าวคือ มีความรู้สึกต่อแสงเท่ากับ 0.55 A/W rise time และ fall time มีค่า 30 ns และ 20 ns ตามลำดับ ซึ่งใกล้เคียงกับระยะเวลาที่พาหะวิ่งผ่านเขตปลอดพาหะ และผลตอบสนองสัมพัทธ์ต่อสเปกตรัมมีค่ายอดที่ 0.87 ?m หลังจากนั้นได้นำโฟโตไอโอดที่สร้างขึ้นไปเปรียบเทียบกับโฟโตไดโอดเบอร์ TIL 81 และ TIL 100 ซึ่งมีความไวสูงสุดที่มีขายในท้องตลาดพบว่าโฟโตไดโอดที่สร้างขึ้นมีสมรรถนะที่ดีกว่าในแง่ของความรู้สึกต่อแสงและความไวของการตอบสนอง ท้ายที่สุดได้นำโฟโตไดโอดที่สร้างขึ้นไปประยุกต์ใช้ในการรับสัญญาณวิทยุ en
dc.description.abstractalternative Different structures of photodiodes have been fabricated to investigate voltage-current characteristics, sensitivity, speed of response and relative spectral response. The experiments show that photodiodes fabricated by using high resistivity wafer (3000?-cm), low temperature processes and appropriate thickness of antireflection coating give satisfactory results. The value of sensitivity is 0.55 A/W, rise time (30 ns) and fall time (20 ns) are comparable to carrier transit time across the depletion region, and peak of relative spectral response is at 0.87 ?m. The fabricated photodiodes are compared with the commercial photodiodes TIL 81 and TIL 100, the results show that our fabricated photodiodes have better performance concerning sensitivity and speed of response. Finally, the fabricated photodiodes are applied to detect the radio signal. en
dc.description.sponsorship กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 32057185 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ไดโอด en
dc.title การสร้างและวิเคราะห์ผลของโฟโตไดโอด : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative Fabrication and analysis of photodiode en
dc.type Technical Report en
dc.email.author feebtp@eng.chula.ac.th, Banyong.T@Chula.ac.th
dc.email.author Montri.s@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record