dc.contributor.advisor |
Manapol Ekkayokkaya |
|
dc.contributor.author |
Pimchanok Yooprot |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy |
|
dc.date.accessioned |
2012-10-18T07:33:24Z |
|
dc.date.available |
2012-10-18T07:33:24Z |
|
dc.date.issued |
2011 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22720 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 |
en |
dc.description.abstract |
Privatization program is regarded as one of increasingly important policy in which the state-agency decides to sell the public assets to private sectors for various reasons. The public assets being privatized are regarded as national-owned assets, belonging to individuals in the society where these assets should be handled in a maximizing manner to provide economic welfare for the country. With the importance of public enterprises established for economic-orientation purposes, the study aims to examine on whether privatization policies being conducted in a maximizing manner to the economy and society as a whole in terms of proceeds from state-owned asset sales by using bidder’s return at announcement period as a proxy. In an efficient theory, the assets should be sold at fair value creating no abnormal returns to the acquirer, however, the bidder’s return tends to be significant positive in this case. The sample is based on the total number of 1,832 state-owned enterprises acquisitions by public firms. The mean difference test suggests statistically significance in the abnormal returns to bidder during the announcement periods which are 1.06%, 1.03% and 2.01%, for the full sample, deal value disclose, and deal value not disclose for 5-day window, respectively. Furthermore, classifying the samples into different political system, industries type, corruption level, and bidder nation also allows for additional insights. With the significant statistics results, the study suggested that privatization activities through M&A may be underpinned by secretive or private incentives that led the price of assets sold to deviate from fair value whereby the acquirers enjoy the gains and sale proceeds are not maximized. |
en |
dc.description.abstractalternative |
การศึกษาการแปรรูปรัฐวิสาหกิจมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่า นโยบายการขายทรัพย์สินของรัฐให้แก่ภาคเอกชน ได้ทำในลักษณะที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อเศรษฐกิจและสังคมหรือไม่ เนื่องจากสินทรัพย์ที่รัฐเป็นเจ้าของนั้น ถือว่าเป็นสินทรัพย์ของชาติและของประชาชนในชาติทุกคน การขายสินทรัพย์ดังกล่าวจึงควรได้รับการจัดการอย่างดีที่สุด เพื่อความเป็นธรรมและนำประโยชน์สูงสุดมาสู่สังคมและประเทศชาติ โดยพิจารณาจากอัตราของผลกำไรในการซื้อสินทรัพย์ของนักลงทุนเอกชนเป็นบรรทัดฐาน ซึ่งตามทฤษฎีของการเกิดประโยชน์สูงสุด กล่าวไว้ว่าการขายสินทรัพย์ของรัฐ ไม่ควรทำให้ผู้ซื้อได้รับผลกำไรที่ผิดปกติ ถ้าขายในมูลค่าตามจริง หรือมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์นั้น แต่ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าไม่สอดคล้องกับทฤษฎีดังกล่าว โดยได้ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 1,832 ตัวอย่าง ที่รัฐเป็นเจ้าของกิจการรัฐวิสาหกิจ และบริษัทเอกชนเป็นผู้เข้าซื้อกิจการ ได้ทดสอบหาค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ย พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของผลตอบแทนที่ผิดปกติ สู่ผู้ประมูลสินทรัพย์ในช่วงระยะเวลา 5 วัน ของการประกาศขายสินทรัพย์ มีอัตราผลตอบแทนที่ 1.06% ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 1.03% ของกลุ่มที่เปิดเผยมูลค่าสินทรัพย์ และ 2.01% ของกลุ่มที่ไม่เปิดเผยมูลค่าสินทรัพย์ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาผลตอบแทนของผู้ซื้อแบ่งตาม รูปแบบทางการเมือง ระดับของการคอรัปชั่น กลุ่มอุตสาหกรรม และกลุ่มของนักลงทุน (ในประเทศและต่างชาติ) ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนในกลุ่มตัวอย่างที่แบ่งมีความแตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงให้เห็นว่าการแปรรูปรัฐวิสาหกิจผ่านกระบวนการขายสินทรัพย์ มีผลประโยชน์ของผู้กำหนดนโยบายเข้ามาเกี่ยวข้อง กับการขายสินทรัพย์ในราคาที่ต่ำกว่าราคาที่เป็นธรรม ซึ่งทำให้รัฐไม่ได้รับผลประโยชน์สูงสุด |
en |
dc.format.extent |
1103384 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
en |
es |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1669 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en |
dc.subject |
Privatization |
en |
dc.subject |
Government property |
en |
dc.subject |
Rate of return |
en |
dc.subject |
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ |
en |
dc.subject |
ทรัพย์สินของรัฐบาล |
en |
dc.subject |
อัตราผลตอบแทน |
en |
dc.title |
Privatization of state-owned enterprises through asset sales |
en |
dc.title.alternative |
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจผ่านกระบวนการขายสินทรัพย์ |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
Master of Science |
es |
dc.degree.level |
Master's Degree |
es |
dc.degree.discipline |
Finance |
es |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en |
dc.email.advisor |
Manapol.E@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2011.1669 |
|