DSpace Repository

Yeild curve forecasting with a large macroeconomic data set using two-step factorization

Show simple item record

dc.contributor.advisor Thaisiri Watewai
dc.contributor.author Krisada Khruachalee
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy
dc.date.accessioned 2012-10-18T10:05:12Z
dc.date.available 2012-10-18T10:05:12Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22725
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 en
dc.description.abstract This study emphasizes on improving the performance of term structure forecasting with an appropriate methodology of extracting common factors from large macroeconomic time series. This empirical study has been conducted for the US and German bond markets. We investigate the yield curve forecast performance under the Principal Component Analysis (PCA) and the Two-Step Factorization techniques for extracting information. We assume that the dynamics of the short rate follow a Factor-Augmented Vector Autoregression (FAVAR) model and that the term structure implies no-arbitrage condition. The PCA technique and the Two-Step Factorization will be used to extract common factors from the same macroeconomic data set. Then, the yield curve forecast performance under the different approaches will be compared. The finding shows that the common factors extracted from the Two-Step Factorization outperform those extracted from the PCA technique and a random walk model in forecasting the intermediate yields in particular at the intermediate and long forecast horizons. By extracting factors only from macro variables that can explain short rates, the Two-Step Factorization method leads to better forecast performance for long forecast horizons. However, the performance for intermediate forecast horizons becomes worse. On the other hand, using factors extracted from macro variables that can explain a long term rate instead of the short rate leads to better forecast performance for the long term yields but it lowers the performance for the short term yields for all forecast horizons. This implies that the constraints put to the extracting method for selecting factors may help eliminate some noises, but at the same time they may also eliminate some of the information and hence lower the forecasting performance. en
dc.description.abstractalternative การศึกษานี้เน้นความสำคัญของการปรับปรุงความสามารถในการพยากรณ์โครงสร้างอัตราผลตอบแทน ด้วยกระบวนการคัดแยกตัวประกอบร่วมจากอนุกรมเวลาทางเศรษฐศาสตร์มหภาค ที่มีขนาดใหญ่ให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงประจักษ์โดยอาศัยหลักฐานจากตลาดพันธบัตรในประเทศสหรัฐอเมริกาและเยอรมนี ผู้ศึกษาได้ตรวจสอบความสามารถในการพยากรณ์เส้นอัตราผลตอบแทนภายใต้วิธีการคัดแยกข้อมูลแบบวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principal Component Analysis) และวิธีการแยกตัวประกอบสองขั้นตอน (Two-Step Factorization) ซึ่งทั้งสองวิธีนี้อยู่ภายใต้ข้อกำหนดที่ว่า การเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นถูกจำลองด้วย Factor-Augmented Vector Autoregression (FAVAR) และโครงสร้างอัตราผลตอบแทนตามระยะเวลาไถ่ถอนหลักทรัพย์เกิดจากการใช้ตัวแปร ที่ถูกกำหนดให้ไม่มีการค้ากำไรเกิดขึ้น (No-Arbitrage) จากนั้นผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก และการแยกตัวประกอบสองขั้นตอนคัดแยกตัวประกอบร่วม จากชุดข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์ชุดเดียวกัน ความสามารถในการพยากรณ์โครงสร้างอัตราผลตอบแทน ภายใต้วิธีการคัดแยกที่แตกต่างกันนี้จะถูกนำมาเปรียบเทียบกัน ผลการศึกษาพบว่า ตัวประกอบร่วมที่ถูกคัดแยกโดยวิธีการแยกตัวประกอบสองขั้นตอน ให้ผลการพยากรณ์ผลตอบแทนระยะกลางได้ดีกว่าวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก และแบบจำลองสุ่มโดยเฉพาะเมื่อพยากรณ์ผลที่อยู่ห่างออกไปปานกลางและห่างออกไปมาก เมื่อนำเฉพาะกลุ่มตัวแปรเศรษฐศาสตร์ ที่มีนัยสำคัญกับอัตราผลตอบแทนระยะสั้นมาใช้ในการแยกตัวประกอบสองขั้นตอน พบว่าผลการพยากรณ์อัตราผลตอบแทนดีขึ้นในการพยากรณ์ผลที่อยู่ห่างออกไปมาก แต่ความสามารถในการพยากรณ์ผลที่อยู่ห่างออกไปปานกลางลดลง แต่เมื่อนำเฉพาะกลุ่มตัวแปรเศรษฐศาสตร์ ที่มีนัยสำคัญกับอัตราผลตอบแทนระยะยาวมาใช้ พบว่าผลการพยากรณ์อัตราผลตอบแทนระยะยาวดีขึ้น แต่ผลการพยากรณ์ระยะสั้นลดลงในการพยากรณ์ผลที่อยู่ห่างออกไปในทุกระยะ เราสามารถอนุมานได้ว่าการกำหนดข้อจำกัดในวิธีการคัดแยก เพื่อใช้เลือกตัวประกอบอาจจะลดผลกระทบจากปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้อง แต่ในขณะเดียวกันก็อาจจะทำลายข้อมูลบางส่วน ทำให้ความสามารถในการพยากรณ์ลดลงได้ en
dc.format.extent 3595536 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1670
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Rate of return en
dc.subject Interest rates en
dc.subject Principal components analysis en
dc.subject อัตราผลตอบแทน en
dc.subject อัตราดอกเบี้ย en
dc.subject การวิเคราะห์ตัวประกอบสำคัญ en
dc.title Yeild curve forecasting with a large macroeconomic data set using two-step factorization en
dc.title.alternative การพยากรณ์เส้นอัตราผลตอบแทนที่มีชุดข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์มหภาคขนาดใหญ่ โดยใช้การแยกตัวประกอบสองขั้นตอน en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Science es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Finance es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor Thaisiri.W@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.1670


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record