DSpace Repository

หลักการออกแบบระบบปรับอากาศขนาดใหญ่เพื่อการประหยัดพลังงาน

Show simple item record

dc.contributor.author วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
dc.date.accessioned 2006-08-28T09:42:21Z
dc.date.available 2006-08-28T09:42:21Z
dc.date.issued 2525
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2272
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ได้แสดงถึงการวิเคราะห์และออกแบบน้ำเย็นแปรเปลี่ยนสำหรับการปรับอากาศขนาดใหญ่เพื่อการประหยัดพลังงาน ระบบที่ศึกษาเพื่อการเปรียบเทียบมีอยู่ 4 แบบ คือ แบบใช้เครื่องสูบน้ำเย็นต่อขนาน แบบใช้เครื่องสูบน้ำเย็นต่ออนุกรม แบบใช้เครื่องสูบน้ำเย็นซับโดยมอเตอร์สองความเร็ว และแบบใช้เครื่องสูบน้ำเย็นซับโดยมอเตรอ์ชนิดแปรเปลี่ยนความเร็ว ในการเปรียบเทียบระหว่างระบบทั้ง 4 ซึ่งมีขนาดเท่ากัน และทำงานที่ภาระความเย็นเดียวกัน โดยสมมุติภาระความเย็นออกเป็น 5 กรณี ซึ่งสามารถครอบคลุมการปรับอากาศในโรงแรม ได้ผลการประหยัดพลังงานที่เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ 1. ระบบแบบใช้เครื่องสูบน้ำเย็นต่ออนุกรม 2. ระบบแบบใช้เครื่องสูบน้ำเย็นต่อขนาน 3. ระบบแบบใช้เครื่องสูบน้ำเย็นซับโดยมอเตอร์ชนิดแปรเปลี่ยนความเร็ว 4. ระบบแบบใช้เครื่องสูบน้ำเย็นซับโดยมอเตอร์สองความเร็ว พลังงานของเครื่องสูบน้ำเย็นที่ประหยัดได้สูงสุด ของระบบที่เรียงกันจากลำดับหนึ่งถึงสี่ คือ 41.8% 34.7% 33.9% และ 29.6% ตามลำดับแต่ถ้าพิจารณาถึงความง่ายต่อการออกแบบและควบคุมแล้ว การใช้ระบบเครื่องสูบน้ำต่อขนานกันจะเหมาะสมที่สุด
dc.description.abstractalternative The analysis and design of the variable chilled water systems for large air conditioning systems have been presented. Four variable chilled water systems are studied. They are the parallel pumping, series punmping, two-speed pumping and variable speed pumping arrangements. Comparison in the energy conservation among the four systems operating at the same five cooling load conditions, which are expected to represent the cooling loads of the hotel, showed the result of the largest and smallest energy conservation as follows: 1. Series punpming system 2. Parallel pumping system 3. variable speed punmping system 4. two-speed pumping system. The maximun conserved energy for each system is 41.8% 34.7% 33.9% and 29.6% respectively. However, in consideration of the simplicity in the design andn control of the systems, the parallel pumping system is highly recommended. en
dc.description.sponsorship ทุนส่งเสริมการวิจัยวิศวกรรมศาสตร์ en
dc.format.extent 11536527 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject เครื่องปรับอากาศ en
dc.title หลักการออกแบบระบบปรับอากาศขนาดใหญ่เพื่อการประหยัดพลังงาน en
dc.title.alternative Design concepts of large air conditioning system for energy conservation en
dc.type Technical Report en
dc.email.author fmevub@eng.chula.ac.th, Variddhi.U@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record