dc.contributor.author |
สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว |
|
dc.contributor.author |
มานะ ศรียุทธศักดิ์ |
|
dc.contributor.author |
มนตรี สวัสดิ์ศฤงฆาร |
|
dc.contributor.author |
ธารา ชลปราณี |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.date.accessioned |
2006-08-28T10:12:31Z |
|
dc.date.available |
2006-08-28T10:12:31Z |
|
dc.date.issued |
2536 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2274 |
|
dc.description.abstract |
รายงานวิจัยนี้จะกล่าวถึงการพัฒนาหัววัดออกซิเจน สำหรับการใช้งานในภาคสนามที่มีโครงสร้างที่มีความเข้มแข็งทนทานต่อการใช้งานได้ หัววัดออกซิเจนที่พัฒนาขึ้นนี้ประกอบด้วยขั้วอาโนดและขั้วคาโทด โดยขั้วอาโนดนั้นทำจากซิลเวอร์คลอไรด์หรือดีบุกและขั้วคาโทดทำจากทอง โครงของหัววัดที่ใช้สำหรับยึดหัวขั้วอาโนดและคาโทดทำขึ้นจากท่อสเตนเลสทำให้มีความทนทานเชิงกลสูง และเนื่องจากขั้วคาโทด และขั้วอาโนดทำขึ้นจากเม็ดทองและดีบุกซึ่งมีลักษณะเป็นแบบบัลก์ (bulk) จึงทำให้มีความทนทานเชิงเคมีสูงกว่าแบบที่ทำขึ้นจากฟิล์มบาง จากการทดสอบการทำงานของหัววัดที่พัฒนาขึ้นพบว่า มีการตอบสนองต่อออกซิเจนที่ละลายอยู่ในสารละลายได้ดีในช่วง 0-12 mg/L และมีความเสถียรภาพในการวัดสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการวัดสารละลายที่มีความเข้มข้นของเกลือต่ำ หัววัดออกซิเจนที่พัฒนาขึ้นนี้เมื่อเสื่อมสมรรถภาพไปแล้ว สามารถทำการบำรุงรักษาได้โดยง่าย โดยทำการขัดผิวของอิเล็กโทรด ก็จะสามารถทำให้กลับมาใช้ได้อีกต่อไป ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างหัววัดอกซิเจนที่พัฒนาขึ้นเมื่อเทียบกับเครื่องที่เป็นของขาย (YSI model 57) ในการวัดออกซิเจนในสระน้ำ จะมีค่าสูงกว่า 0.8900 |
en |
dc.description.abstractalternative |
This research reports a development of reinforced structured oxygen sensor for a field applications. The oxygen sensor composes of anode and cathode. The anode is made of silver-silver chloride or tin. And the cathode is made of gold. The body for supporting the both electrodes is made of stainless steel pipe, this bring to a high mechanical resistance. Since the cathode and anode is made of a bulk of gold and tin, then it has a high chemical resistance more than thin film one. The response of the sensor to oxygen can be obtain from the range between 0 to 12 mg/L. The sensor also has a good stability in the measurements, especially under a low salt concentration samples. When the fabricated oxygen sensor lost its sensitivity, it can be maintain easily by polishing the surface of the electrode then it can be reuse again. The correlation coefficient between the fabricated oxygen sensor and the commercial one (YSI model 57) for oxygen measurement in a pond was better than 0.8900. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท โครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทย-ญี่ปุ่น (NRCT-JSPS) ประจำปี 2536 |
en |
dc.format.extent |
6533598 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
หัววัดออกซิเจน |
en |
dc.subject |
ออกซิเจน |
en |
dc.title |
การพัฒนาหัววัดออกซิเจนเพื่อใช้งานภาคสนาม : รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Development of oxygen sensors for field applications |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |
dc.email.author |
feespy@kankrow.eng.chula.ac.th, Somsak.P@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Mana.S@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Montri.s@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Tara.C@chula.ac.th |
|