DSpace Repository

การเก็บกลับคืนสังกะสีจากฝุ่นเตาหลอมอาร์คไฟฟ้าโดยวิธีการชะละลายด้วยกรดซัลฟิวริกเจือจาง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์
dc.contributor.advisor ณัฐวดี วิสิฐเรืองสกุล
dc.contributor.author วิสารัช มั่นประพันธ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2012-11-12T09:00:18Z
dc.date.available 2012-11-12T09:00:18Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23847
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 en
dc.description.abstract ฝุ่นจากเตาหลอมอาร์คไฟฟ้า ประกอบด้วย โลหะเจือปนหลักที่สามารถนำกลับมาได้ ได้แก่ สังกะสีและเหล็ก มีองค์ประกอบหลักคือ สังกะสี ประมาณร้อยละ 24-27 โดยที่โลหะทั้งสองชนิดจับตัวกันอยู่ในรูปของสารประกอบซิงค์ออกไซด์ และซิงค์เฟอร์ไรท์อยู่ในรูปที่มีเสถียรภาพสูง ซึ่งชะละลายได้ยาก งานวิจัยนี้จึงศึกษาคุณลักษณะของฝุ่นจากเตาหลอมไฟฟ้า และศึกษากระบวนการชะละลายโดยใช้สารละลายกรดซัลฟิวริกเจือจาง และกระบวนการทางความร้อน ทำการชะละลายภายใต้สภาวะปกติโดยไม่มีการปรับสภาพของตัวอย่าง และทำการชะละลายร่วมกับกระบวนการทางความร้อน โดยทำการเผาตัวอย่างด้วยโซเดียมคลอไรด์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการชะละลายของซิงค์เฟอร์ไรท์ การออกแบบและการทำการทดลองเพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการชะละลาย ได้แก่ ความเข้มข้นของสารละลายที่ใช้ เวลาที่ใช้ในการชะละลาย และปริมาณของตัวอย่างที่เหมาะสมในการชะละลาย พบว่าความสามารถในการชะละลายสังกะสีขึ้นกับความเข้มข้นของสารละลายที่ใช้ ความเข้มข้นที่เหมาะสมในการชะละลายคือ 1 โมลต่อลิตร และมีการเก็บกลับคืนสูงสุดถึงร้อยละ 92 en
dc.description.abstractalternative Electric arc furnace dust (EAFD) containing iron, zinc, and lead are generated. The largest metallic portion of EAFD is zinc, which varies between 24-27%. Zinc in EAFD mainly presents as franklinite (ZnFe₂O₄) and zincite (ZnO). Zinc ferrite (franklinite) is considerably refractory against leaching. In this research, the EAFD characterization and its leaching process by thermal treatment and dilute sulphuric acid (H₂SO₄) are performed. The leaching process was based on the zinc extraction with dilute sulphuric acid from EAFD under atmospheric conditions, without any using preliminary treatment and using thermal treatment by roasting with salts (NaCl) to increase dissolution of refractory zinc. Statistical design and analysis of experiments is carried out to determine the main effects of the leaching process factors, with acid normality, shaking time and solid to liquid ratio. Zinc was extracted by using an EAFD. Sulfuric acid was used at different concentrations to recover zinc from dust particles. The highest zinc extraction was obtained at low acid concentration 1 mol/L. The kinetics of zinc extraction showed a maximum zinc recovery of 92% en
dc.format.extent 3198882 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1823
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject อุตสาหกรรมเหล็กกล้า -- การควบคุมฝุ่น en
dc.subject สังกะสี en
dc.subject เตาหลอมไฟฟ้า en
dc.subject กรดกำมะถัน en
dc.subject โลหวิทยาความร้อน en
dc.subject โลหวิทยาสารละลาย en
dc.subject Steel industry and trade -- Dust control en
dc.subject Zinc en
dc.subject Electric furnaces en
dc.subject Sulfuric acid en
dc.subject Pyrometallurgy en
dc.subject Hydrometallurgy en
dc.title การเก็บกลับคืนสังกะสีจากฝุ่นเตาหลอมอาร์คไฟฟ้าโดยวิธีการชะละลายด้วยกรดซัลฟิวริกเจือจาง en
dc.title.alternative Recovery of zinc from electric arc furnace dust by dilute sulphuric acid leaching en
dc.type Thesis es
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline วิศวกรรมทรัพยากรธรณี es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Quanchai.L@Chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.1823


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record