DSpace Repository

การวิเคราะห์สภาวะน่าสบายและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ของอาคารสถาปัตยกรรมไทย : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author สุนทร บุญญาธิการ
dc.contributor.author ธนิต จินดาวณิค
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2006-09-09T04:38:18Z
dc.date.available 2006-09-09T04:38:18Z
dc.date.issued 2536
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2391
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มุ่งที่จะแสวงหาอิทธิพลของตัวแปรสำคัญๆ ที่เป็นปัจจัยในการสร้างสภาวะน่าสบายให้กับผู้อยู่อาศัยในสถาปัตยกรรมไทยด้วยวิธีธรรมชาติโดยปราศจากการใช้เครื่องปรับอากาศ ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยนี้เป็นค่าที่ได้จากการวัดจริงจากเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ การวิจัยเริ่มต้นด้วยการศึกษาสภาพภูมิอากาศของกรุงเทพที่เกี่ยวข้องโดยตรงเท่าที่จะค้นคว้าหาได้และมีหลักฐานอ้างอิงประกอบกับการสุ่มตัวอย่างอาคารศึกษาเพื่อหาขอบเขต (Magnitude) ของอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ ซึ่งจะใช้เป็นพื้นฐานในการเลือกศึกษาอาคารสถาปัตยกรรมไทยขั้นต่อไป ในงานวิจัยนี้ได้เลือกตัวอย่างอาคารสถาปัตยกรรมไทยประกอบกับตัวอย่างอาคารสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัยและสถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบและขอบเขตอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลของมวลสารและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องไม่อาจหาได้จากอาคารใดอาคารหนึ่งหรืออาคารในสมัยใดสมัยหนึ่งโดยเฉพาะ ผลของการวิจัยชี้ให้เห็นถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อสภาวะน่าสบายในอาคาร ซึ่งได้แก่สภาพแวดล้อมโดยรอบอาคาร มวลอาคาร การดูดความร้อนของมวลอาคาร อุณหภูมิที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนรังสีความร้อน รังสีดวงอาทิตย์ ลม และการระบายลม การศึกษาวิเคราะห์จากตัวอย่างอาคารสถาปัตยกรรมไทย สถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัยและสถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่ได้พบตัวแปรที่สำคัญในการเสริมสร้างสภาวะน่าสบายในอาคารสถาปัตยกรรมไทยและสรุปเป็นแผนภูมิขั้นตอนในการออกแบบเพื่อเสริมสร้างสภาวะน่าสบายภายในอาคาร en
dc.description.abstractalternative The intention of this research is to seek major influential variables in Thai architecture that has been designed to achieve or to improve thermal comfort by natural mean, without any assistance of air conditioning system. The research technique employs an on-site scientific instrumentation and monitoring of various selected building. Obtainable related macro-climate factors of Bangkok and random building samples are investigated first to find out the variables used to determine Thai architecture as building cases. Since building mass and related environmental factors can not be found in a single building or a certain period of architecture, Thai architecture including contemporary and modern Thai architecture are selected as building cases in the research to compare their effects and magnitude of the variables. The result of the research reveals factors effecting thermal comfort in a building. Those factors are micro-climate, building mass, heat sink, mean radiant temperature, solar radiation, wind and ventilation. From the analysis of the selected building cases of Thai architecture, contemporary Thai architecture and modern Thai architecture, the important variables improving thermal comfort in Thai architecture are found. In addition a design process to achieve thermal comfort in a building is shown in the research. en
dc.description.sponsorship กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 13020797 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การออกแบบสถาปัตยกรรม en
dc.subject สถาปัตยกรรมไทย en
dc.subject อาคาร--สมบัติทางความร้อน en
dc.subject การระบายอากาศ en
dc.title การวิเคราะห์สภาวะน่าสบายและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ของอาคารสถาปัตยกรรมไทย : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative สภาวะน่าสบายและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ของอาคารสถาปัตยกรรมไทย : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative An evaluation of thermal comfort and related variables in Thai architecture en
dc.type Technical Report en
dc.email.author soontorn@asia.com, Soontorn.B@Chula.ac.th
dc.email.author cthanit@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record