DSpace Repository

โครงสร้างเกี่ยวกับแนวคิดของสัดส่วนประชากรและความน่าจะเป็นของการเกิดผลสำเร็จในการแจกแจงแบบเบอร์นูลี

Show simple item record

dc.contributor.advisor ยงยุทธ ไชยพงศ์
dc.contributor.author สมจิตต์ บัวบาน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2012-11-22T05:36:15Z
dc.date.available 2012-11-22T05:36:15Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741721544
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25204
dc.description วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงรากฐานแนวคิดของการประมาณค่าสัดส่วนประชากรและความน่าจะเป็นของการเกิดผลสำเร็จภายใต้การแจกแจงแบบเบอร์นูลี ความเข้าใจที่ชัดเจนในส่วนนี้จะนำไปสู่การเลือกใช้กระบวนการทางสถิติที่ถูกต้องเหมาะสม การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักคือ การนำตัวอย่างในตำราสถิติมาเป็นกรณีศึกษาวิเคราะห์ความชัดเจนในแนวคิดพื้นฐานทางทฤษฎี และการศึกษาโดยการจำลองข้อมูลเพื่อตรวจสอบคุณสมบัติของตัวประมาณทั้งแบบจุดและแบบช่วง ผลการศึกษาโดยสรุปพบว่า ในตำราสถิติยังขาดความชัดเจนในการอธิบายถึงรากฐานแนวคิดของการประมาณค่าลักษณะประชากรภายใต้ทฤษฎีการสำรวจตัวอย่าง (Theory of Sample Survey) และการประมาณค่าพารามิเตอร์ภายใต้ทฤษฎีการอนุมานทางสถิติ (Theory of Statistical Inference) อนึ่งผลการศึกษาการจำลองข้อมูลพบว่า ตัวสถิติ “a” (จำนวนหน่วยตัวอย่างซึ่งมีลักษณะที่สนใจ)มีรูปแบบการแจกแจงเข้าสู่การแบบปกติเมื่อ “n” (ขนาดตัวอย่าง) และ “N-n” (ผลต่างระหว่างขนาดประชากรและขนาดตัวอย่าง) มีขนาดใหญ่ ในส่วนของการประมาณค่าแบบช่วงตัวประมาณของ M.E. Thompson (1997) ให้ค่าความน่าจะเป็นของการครอบคลุมที่ใกล้เคียงกับระดับความเชื่อมั่นที่กำหนดมากที่สุด และสำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิอย่างง่ายนั้น ตัวประมาณแบบถ่วงน้ำหนักตามขนาดของชั้นภูมิเป็นตัวประมาณที่ให้ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับตัวประมาณที่ไม่ถ่วงน้ำหนัก
dc.description.abstractalternative The objective of this study is to illustrate the basic concept of estimating population proportion and probability of success under Bernoulli distribution. Clear understanding on this matter leads to determination for appropriate or correct choice of statistical method. The study is divided into two parts, i.e. the analysis of basic concept on theory of statistics from examples in statistical textbooks, and a simulation study for investigate on properties of point and interval estimator. It was founded that many statistical textbooks lack of the clear explanation on the basic concept of the estimating population characteristic under Theory of Sample Survey and the estimating of parameter under Theory of Statistical Inference. In addition, the distribution of statistical “a” (number of interest in the sample) approaches normal distribution when “n” (sample size) and “N-n” (difference between of population size and sample size) are large. For interval estimation, the estimator given by M.E.Thompson (1997) has the closet coverage probability to the confidence level. When stratified random sampling is used, the weighted estimator has lower mean absolute error comparing to unweighted estimator.
dc.format.extent 3705084 bytes
dc.format.extent 2077224 bytes
dc.format.extent 4553884 bytes
dc.format.extent 1703124 bytes
dc.format.extent 25437707 bytes
dc.format.extent 1639858 bytes
dc.format.extent 63466549 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.title โครงสร้างเกี่ยวกับแนวคิดของสัดส่วนประชากรและความน่าจะเป็นของการเกิดผลสำเร็จในการแจกแจงแบบเบอร์นูลี en
dc.title.alternative The conceptual framework of population proportion and probability of success in bernoulli distribution en
dc.type Thesis es
dc.degree.name สถิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline สถิติ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record