DSpace Repository

ความแตกต่างของพื้นฐานอารมณ์ในเด็กแฝดเหมือนและแฝดคล้าย

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรรณระพี สุทธิววรรณ
dc.contributor.author หทัยฉัฐ หวังไพสิฐ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2012-11-23T06:49:06Z
dc.date.available 2012-11-23T06:49:06Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9745316288
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25562
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาความแตกต่างของลักษณะพื้นฐานอารมณ์ในคู่แฝดเหมือนและคู่แผดคล้าย กลุ่มตัวอย่างเป็นคู่แฝดเพศเดียวกันจำนวน 20 คู่: แฝดเหมือน 10 คู่ และแฝดคล้าย 10 คู่ ที่มีอายุ 3-6 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับอนุบาล ในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามพื้นฐานอารมณ์ (McDevitt & Carey, 1978) และ แบบสัมภาษณ์แยกประเภทแฝด (Peeters, Gestel, Vlietnck, Derom, & Derom, 1998) สถิติที่ใช้ คือ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product moment correlation) และ Z-test ผลการศึกษาในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า พื้นฐานอารมณ์ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางพันธุกรรมโดยมีผลการศึกษา ดังนี้ 1. คู่แฝดเหมือนมีลักษณะพื้นฐานอารมณ์ที่สัมพันธ์กันมากกว่าคู่แฝดคล้ายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Z = 2.29, p <.05) 2. คู่แฝดเหมือนมีองค์ประกอบพื้นฐานอารมณ์ 5 ด้าน ที่สัมพันธ์กันมากกว่าคู่แฝดคล้ายคือ ด้านความรุนแรงของการตอบสนอง (Z = 3.49, p <.01) ด้านการเข้าหาหรือถอยหนี (Z = 3.03, p <.01) ด้านระดับการเคลื่อนไหว (Z = 2.81, p <.01) ด้านลักษณะอารมณ์ (Z = 2.65, p <.01) และด้านความสามารถในการปรับตัว (Z = 2.34, p <.05) ส่วนองค์ประกอบพื้นฐานอารมณ์ด้านความสม่ำเสมอ พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันในกลุ่มคู่แฝดเหมือนและคู่แฝดคล้าย
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the temperamental differences in identical and fraternal twins. The participants were 20 pairs of same-sexed twins: 10 pairs of identical twins and 10 pairs of fraternal twins. They were 3-6 years of age from kindergartens in Bangkok. The instruments were the Behavioral Style Questionnaire (McDevitt & Carey, 1978) and the Zygosity Questionnaire (Peeters, Gestel, Vietinck, Derom, & Derom, 1998). The data were analyzed by Pearson product moment correlation and Z-test. Result of the study indicates genetic influence on temperament. The results are as follows: 1. Identical twins demonstrate significantly higher intrapair correlations for the temperament than fraternal twins (Z = 2.29, p <.05). 2. Five categories of temperament demonstrate significantly higher intrapair correlations that identical twins than fraternal twins: Intensity of reaction (Z = 3.49, p <.01), Approach or withdrawal (Z = 3.03, p <.01), Activity level (Z = 2.81, p <.01), Quality of mood (Z = 2.65, p <.01), and Adaptability (Z = 2.34, p <.05). However, there was no difference in Rhythmicity category between identical twins and fraternal twins.
dc.format.extent 2996321 bytes
dc.format.extent 17562443 bytes
dc.format.extent 5935763 bytes
dc.format.extent 3097002 bytes
dc.format.extent 3088760 bytes
dc.format.extent 1523409 bytes
dc.format.extent 6743212 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.title ความแตกต่างของพื้นฐานอารมณ์ในเด็กแฝดเหมือนและแฝดคล้าย en
dc.title.alternative Temperamental differences in identical and fraternal twins en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record