DSpace Repository

Effects of vasodilators on cardiac contractility and arrhythmogenesis in ischemic-induced rat heart

Show simple item record

dc.contributor.advisor Suwanakiet Sawangkoon
dc.contributor.advisor Wuthichai Klomkleaw
dc.contributor.author Promporn Raksaseri
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary
dc.date.accessioned 2006-09-18T09:40:04Z
dc.date.available 2006-09-18T09:40:04Z
dc.date.issued 2004
dc.identifier.isbn 9741764677
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2590
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2004 en
dc.description.abstract The objective of the present study was to investigate the effects of vasodilators (beta[subscript 2]-adrenergic agonist and alpha[subscript 1]-adrenergic antagonist) on cardiac contractility and arrhythmogenesis in ischemic induced - rat hearts. Sixty male spraque-dawley rat hearts were randomized into 4 groups: the first group was perfused with Krebs- Henseleit bicarbonate (KHB) buffer and used as control group; the second group was perfused with KHB buffer and 10 micrometre atenolol (ATEN); the third group was perfused with KHB buffer 10 micrometre atenolol and 0.01 micrometre salbutamol (ATEN/SALBU); the fourth group was perfused with KHB buffer, 10 micrometre atenolol and 5 micrometre prazosin (ATEN/PRAZ). Rat hearts were isolated and mounted in Langendorff apparatus. Left ventricular developed pressure, dP/dt[subscript max] and dP/dt[subscript min], Vmax, ECG, coronary flow, and RR-variability were recorded and determined. After drug perfusion for 10 minutes, the left anterior descending artery was occluded for 8 minutes and then reperfused to induce cardiac arrhythmias. Coronary flow and heart rates increased after ATEN/SALBU perfusion and decreased after ATEN/PRAZ. Ischemia deteriorated cardiac contractility and coronary flow in all treated groups. Recovery of contractile function and coronary flow were observed after reperfusion. Ischemic-reperfusion induced sustained ventricular fibrillation in all groups except ATEN/PRAZ treated group. Increases in cardiac myocyte apoptosis induced by adrenergic drugs were not observed in this study. In conclusion, the combination of beta[subscript 1]-antagonist and alpha[subscript 1]-antagonist has antiarrhythmic action in ischemic-induced rat heart. However, beta[subscript 2]-agonist showed vasodilatory effect and increases in cardiac contractility. en
dc.description.abstractalternative ทำการศึกษาผลของสารขยายหลอดเลือดต่อการหดตัวและการเต้นผิดจังหวะของหัวใจหนูแรทที่เหนี่ยวนำให้ขาดเลือดจำนวน 60 ตัว แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มทดลอง กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุมได้รับสารละลายเครบส์บัฟเฟอร์ กลุ่มที่ 2 ได้รับสารละลายเครบส์บัฟเฟอร์ร่วมกับยาอะทีโนลอลซึ่งเป็นยาในกลุ่มเบตาวัน อะดรีเนอร์จิก แอนทาโกนิสต์ กลุ่มที่ 3 ได้รับสารละลายเครบส์บัฟเฟอร์ร่วมกับยาอะทีโนลอลและซาลบูทามอลซึ่งเป็นยาในกลุ่มเบตาทู อะดรีเนอร์จิก อะโกนิสต์ และกลุ่มที่ 4 ได้รับสารละลายเครบส์บัฟเฟอร์ร่วมกับยาอะทีโนลอลและพราโซซินซึ่งเป็นยาในกลุ่มแอลฟาวัน อะดรีเนอร์จิก แอนทาโกนิสต์ ทำการแยกหัวใจเพื่อนำมาแขวนในแลงเกนดอร์ฟ ทำการวัดความดันในหัวใจห้องล่างซ้าย อัตราการเต้นของหัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ความเร็วในหดตัวและคลายตัวของหัวใจ อัตราการไหลของของเหลวที่ไหลผ่านหลอดเลือดโคโรนารี และความแปรปรวนของจังหวะการเต้นของหัวใจ หลังจากให้สารละลายและยาไหลผ่านหลอดเลือดหัวใจเป็นเวลา 10 นาที จึงทำการผูกหลอดเลือดแดง เลฟ แอนทีเรีย ดีเซนดิงเพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเป็นเวลา 8 นาทีและทำการคลายเลือดเพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะ หลังจากให้ยาพบว่ากลุ่มที่ 3 เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการไหลของของเหลวที่ผ่านหลอดเลือดแดงโคโรนารีในขณะที่กลุ่มที่ 4 ลดอัตราการเต้นของหัวใจและลดอัตราการไหลของของเหลวผ่านหลอดเลือดแดงโคโรนารี ในภาวะหัวใจขาดเลือด พบการบีบตัวของหัวใจและอัตราการไหลของเหลวผ่านหลอดเลือดแดงโคโรนารีลดลงในทุกกลุ่มและพารามิเตอร์เหล่านี้จะเพิ่มขึ้นเมื่อคลายหลอดเลือด ทุกกลุ่มทดลองเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ ซัซเตน เวนตริคูล่า ฟิบริเลชั่นทั้งหมด ในกลุ่มทดลองกลุ่มที่ 4 ซึ่งได้รับยาอะทีโนลอลและพราโซซินเพียงกลุ่มเดียวที่ไม่เกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะแบบซัซเตน เวนตริคูลา ฟิบริเลชั่น นอกจากนี้การให้ยากลุ่มอะดรีเนอร์จิกนี้ไม่พบว่าทำให้เกิดอะปอปโตซีสในเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจเพิ่มขึ้นจากกลุ่มควบคุม จากการทดลองสรุปได้ว่าการให้ยากลุ่มเบตาวัน อะดรีเนอร์จิก แอนทาโกนิสต์ร่วมกับแอลฟาวัน อะดรีเนอร์จิก แอนทาโกนิสต์ให้ผลดีในการต้านการเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะจากภาวะหัวใจขาดเลือด ผลของสารขยายหลอดเลือดที่ให้ผลเด่นชัดในการขยายหลอดเลือดโคโรนารีและมีผลต่อการหดตัวของหัวใจหนูแรทคือ เบตาทู อะดรีเนอร์จิก อะโกนิสต์
dc.format.extent 1236909 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en en
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Vasodilators en
dc.subject Coronary heart disease en
dc.title Effects of vasodilators on cardiac contractility and arrhythmogenesis in ischemic-induced rat heart en
dc.title.alternative ผลของสารขยายหลอดเลือดต่อการหดตัวของหัวใจและการเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะ ในหนูแรทที่เหนี่ยวนำให้เกิดภาวะหัวใจขาดเลือด en
dc.type Thesis en
dc.degree.name Master of Science en
dc.degree.level Master's Degree en
dc.degree.discipline Veterinary Physiology en
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record