DSpace Repository

การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกรหลังเพาะเลี้ยงและย้ายฝากในสกุรตัวรับ : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author มงคล เตชะกำพุ
dc.contributor.author วิชัย ทันตศุภารักษ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์
dc.date.accessioned 2006-09-19T06:46:02Z
dc.date.available 2006-09-19T06:46:02Z
dc.date.issued 2534
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2627
dc.description.abstract นำตัวอ่อนระยะ 1-2 เซลล์ จำนวน 122 ตัวอ่อน มาเลี้ยงในน้ำยาเพาะเลี้ยงชนิด Modified Kreb's Ringer เป็นเวลา 24 ชม. พบว่ามีอัตราการเจริญเป็นตัวอ่อนระยะ 4 เซลล์ จำนวน 96 ตัวอ่อน คิดเป็น 78.7% (96/122) หลังจากนั้นนำตัวอ่อนที่เพาะเลี้ยงจำนวน 40 ตัวอ่อน ไปฝากในสุกรตัวรับ จำนวน 3 ตัว ที่มีวงจรการเป็นสัดใกล้เคียงกันอายุตัวอ่อน ผลได้อัตราการตั้งท้อง 100% (3/3), อัตราการเจริญเป็นฟิตัสเท่ากับ 42.5% (17/40) และอัตราการเจริญเป็นลูกสุกรปกติเท่ากับ 40% (16/40) ซึ่งพบว่าาไม่ต่างกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับตัวอ่อนที่ไม่ได้เพาะเลี้ยง โดยมีอัตราต่าง ๆ เท่ากับ 75% (3/4), 46% (29/62) และ 35.5% (22/62) ตามลำดับ ลูกสุกรที่เกิดมาจากตัวอ่อนที่ผ่านการเพาะเลี้ยงมีน้ำหนักแรกคลอด และการเจริยเติบโตตั้งแต่ 1 ถึง 8 สัปดาห์ ใกล้เคียงกับกลุ่มควบคุม การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าตัวอ่อนสุกรสามารถพัฒนาตัวเองได้ หลังนำมาเลี้ยงนอกร่างกายนาน 24 ชม. en
dc.description.abstractalternative A total of 122 pig embryos at one to two-cell-stage was cultivated in Modified Kreb's Ringer solution for 24 hrs. Seventy eight point seven percent (96/122) were developed to four cell stage. Forty four ce---stage embroys after culture were transferred to suitable recipients. The results of pregnancy rate, fetal development rate and normal piglet born rate were 100% (3/3), 42.5% (17/40) an d 40% (16/40) compared to 75% (3/4), 46% (29/62) and 35.5% (22/62) in the control group respectively. The birth weight and their development during one to eight weeks were comparable to the control. This experiment showed that the pig embroys can survive until term spending 24 hrs. in culture medium. en
dc.description.sponsorship ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2534 en
dc.format.extent 5020556 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject สุกร--การถ่ายฝากตัวอ่อน en
dc.title การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกรหลังเพาะเลี้ยงและย้ายฝากในสกุรตัวรับ : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative การเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกรหลังเพาะเลี้ยงและย้ายฝากในสกุรตัวรับ en
dc.title.alternative In vivo development of pig embryo after culture en
dc.type Technical Report en
dc.email.author mongkol.t@chula.ac.th
dc.email.author wichai.t@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record