DSpace Repository

การเตรียมโคพอลิเมอร์แบบกึ่งระหว่างเอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ และ พอลิสไตรีนด้วยวิธีการพอลิเมอไรเซชันแบบอนุมูลอิสระ

Show simple item record

dc.contributor.advisor จุฑา มนัสไพบูลย์
dc.contributor.author เฉลิมพล วงษ์เลิศ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2012-11-27T03:21:42Z
dc.date.available 2012-11-27T03:21:42Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741750358
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26318
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en
dc.description.abstract การเตรียม โคพอลิเมอร์แบบกิ่ง ระหว่าง เอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ และพอลิสไตรีน ด้วยวิธี การพอลิเมอไรเซซันแบบอนุมูลอิสระ ทำได้โดยใช้ ตัวเริ่มปฏิกิริยา เบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ (BPO) ภายใต้บรรยากาศอาร์กอน สภาวะในการเตรียม โคพอลิเมอร์แบบกิ่งระหว่าง เอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ และ พอลิสไตรีน ที่เหมาะสมคือ ใช้เวลาในการทำปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซซัน 4 ชั่วโมง อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา 90 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นของเบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ 4.97x10⁻³ โมลต่อลิตร ความเข้มข้นของสไตรีนมอนอเมอร์ 2.49x10⁻³ โมลต่อลิตร เวลาในการทำปฏิกิริยาของ เบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ (ageing time) 10 นาที และ ใช้สารละลาย โทลูอีน ในการทำปฏิกิริยา การแยกองค์ประกอบ ของโคพอลิเมอร์แบบกิ่ง ระหว่างเอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ และ พอลิสไตรีน กับ เอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน และ พอลิสไตรีน ที่ไม่ทำปฏิกิริยา ทำได้โดยใช้ วิธีการสกัดด้วยตัวทำละลาย (soxhlet) เฮกเซน สำหรับกำจัดเอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ เป็นเวลา 12 ชั่วโมง และใช้วิธีการสกัดด้วยตัวทำละลาย (soxhlet) อะซิโตน สำหรับกำจัด พอลิสไตรีน เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ทำการตรวจสอบพอลิเมอร์โดยใช้ Differential Scanning Carlorimeter และ ¹³C Nuclear Magnetic Resonance นอกจากนี้ทำการศึกษาสัณฐาน (morphology) ของพอลิสไตรีน พอลิสไตรีนชนิดรับแรงกระแทกสูง (HIPS) และ พอลิเมอร์ผสม ระหว่าง โคพอลิเมอร์แบบกิ่ง ระหว่าง เอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ และพอลิสไตรีน กับ พอลิสไตรีน พบว่าพอลิเมอร์ผสมให้สัณฐานที่ดีกว่า คือมีลักษณะเป็นทรงกลม สุดท้ายทำการทดสอบคุณสมบัติทางกลของพอลิเมอร์โดยทดสอบ การยืดตัวของพอลิเมอร์ 4 ชนิด คือ พอลิสไตรีน พอลีสไตรีนชนิดรับแรงกระแทกสูง พอลิเมอร์ผสมของโคพอลิเมอร์แบบกิ่ง ระหว่าง เอทิลีน-โพพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ และ พอลิสไตรีน กับ พอลิสไตรีน และพอลิเมอร์ผสมของ เอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ กับ พอลิสไตรีน พบว่าความเหนียว (tougness) ของพอลิเมอร์มีค่า 0.03450, 0.12920, 0.07904 และ 0.05252 MPa ตามลำดับ อาจสรุปได้ว่า การทำพอลิเมอร์ผสม โดยการเติมยางบางชนิด ลงไปจะช่วยเพิ่มค่า คุณสมบัติทางกล ของพอลิเมอร์ให้มากขึ้น
dc.description.abstractalternative Synthesis of graft copolymer between ethylene-propylene-diene terpoymer (EPDM) and polystyrene by free radical polymerization using benzoyl peroxide as the initiator under argon atmosphere was successfully. The optimum condition for synthesis used polymerization time is 4 hrs, polymerization temperature at 90 ℃, concentration of benzoyl peroxide initiator at 4.97x10⁻³ mol/L, concentration of styrene monomer at 2.49x10⁻³ mol/L, ageing time for polymerization at 10 minutes and used toluene as the solvent for synthesis graft copolymer. The composition of graft copolymer between ethylene-propylene-diene terpolymer (EPDM) and polystyrene and unreacted EPDM and polystyrene separated by solvent extraction (soxhlet). Hexane solvent used for eliminate unreacted EPDM for 12 hrs and acetone solvent used for eliminate side product polystyrene for 12 hrs. Synthesis graft copolymer could be characterized by Differential Scanning Carlorimeter and ¹³C Nuclear Magnetic Resonance. Moreover, the morphologies of polymer blend between synthesis graft copolymer (EPDM-g-PS) and polystyrene, polystyrene and High Impact Polystyrene (HIPS). The results are polymer blend between synthesis graft copolymer (EPDM-g-PS) and polystyrene have a good morphology than pure polystyrene. The morphologies have a laminar shape due to spherical particles agglomerate at matrix of polystyrene. Finally, tested the mechanical property of four polymers by tensile strength tests used polystyrene (PS), HIPS, EPDM-g-PS blend with PS and EPDM blend with PS, the toughness of the polymers are 0.03450, 0.12920, 0.07904 and 0.05252 MPa, respectively. The polymer blend with the rubber or graft copolymer can improve the mechanical property of pure PS.
dc.format.extent 7257894 bytes
dc.format.extent 1236964 bytes
dc.format.extent 13466912 bytes
dc.format.extent 4010656 bytes
dc.format.extent 3891681 bytes
dc.format.extent 22262503 bytes
dc.format.extent 909983 bytes
dc.format.extent 5113357 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.title การเตรียมโคพอลิเมอร์แบบกึ่งระหว่างเอทิลีน-โพรพิลีน-ไดอีน เทอร์พอลิเมอร์ และ พอลิสไตรีนด้วยวิธีการพอลิเมอไรเซชันแบบอนุมูลอิสระ en
dc.title.alternative A comparison of administration and resource allocation before and after being an autonomous university : a case study of King Mongkut's University of Technology Thonburi en
dc.type Thesis es
dc.degree.name เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline เศรษฐศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record