DSpace Repository

ประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรควิบริโอซีสชนิดเชื้อตาย ต่ออัตรารอดของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) ที่อายุต่างๆ กัน

Show simple item record

dc.contributor.author จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์
dc.contributor.author สมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล
dc.contributor.author อรัญญา พลพรพิสิฐ
dc.contributor.author วีณา เคยพุดซา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์
dc.contributor.other ไม่มีข้อมูล
dc.date.accessioned 2006-09-19T09:31:09Z
dc.date.available 2006-09-19T09:31:09Z
dc.date.issued 2538
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2643
dc.description.abstract การศึกษาประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรควิบริโอซีสในกุ้งกุลาดำที่อายุต่างกัน ที่ผลิตขึ้นจากเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ที่ฆ่าด้วยความร้อน แล้วนำไปใช้ทดลองในกุ้งช่วง post larva ที่ 20 และกุ้งจากบ่อดินอายุ 60 วัน ด้วยวิธีการจุ่มแช่ (Bath) เป็นระยะเวลานาน 30 นาที แล้วศึกษาเปรียบเทียบดูอัตรารอดของกุ้งที่เลี้ยงนาน 32 วัน ในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนระดับความเข้มข้น 10[Superscript 9], 10[superscript 11] และ 10[superscript 13] CFU/ml. กับกลุ่มที่ไม่ได้รับวัคซีนซึ่งเป็นกลุ่มควบคุม พบว่าอัตรารอดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) หลังจากนั้นทำการเหนี่ยงนำให้เกิดโรควิบริโอซีสด้วยแช่เชื้อพิษทับ (challenge) ที่ระดับความเข้มข้น 10[superscript 18] CFU/ml. เป็นเวลานาน 9 วันในกุ้งกลุ่มทดลองเบื้องต้น แล้วทำการศึกษาเปรียบเทียบดูอัตรารอดของกุ้งกุลาดำที่อายุต่างกัน ในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนระดับความเข้มข้น 10[superscript 9], 10[superscript 11] และ 10[superscript 13] CFU/ml. กับกลุ่มที่ไม่ได้รับวัคซีนซึ่งเป็นกลุ่มควบคุม พบว่าอัตรารอดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนผลของการเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของกุ้งบ่อดิน ระหว่างกลุ่มของกุ้งที่ได้รับวัคซีนกับกลุ่มควบคุม โดยดูจากน้ำหนักกุ้งที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อตัวภายในระยะเวลาที่เลี้ยงนาน 32 วัน พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยที่กลุ่มไม่ได้แช่วัคซีนจะมีน้ำหนักตัวเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากกว่า en
dc.description.abstractalternative The efficacy of V. parahaemolyticus heat killed bacterin was tried to against vibriosis in P. monodon at post larva 20 and 2 months old after rearing in grow-out pond. The animal was bathed for 30 minutes in bacteria at dosage 10[superscript 9], 10[superscript 11], and 10[superscript 13] CFU/ml. The challenge was done with V. parahaemolyticus at concentration of 10[superscript 18] CFU/ml. The growth rate of post larva 20 and survival rate of both groups of animal were not significance different. Incontrast, the growth rate of control 2 month old group was significantly higher than vaccinated group. en
dc.format.extent 3006740 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject กุ้งกุลาดำ--โรค en
dc.subject วัคซีนวิบริโอซีส en
dc.title ประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรควิบริโอซีสชนิดเชื้อตาย ต่ออัตรารอดของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) ที่อายุต่างๆ กัน en
dc.title.alternative The efficacy of vibriosis bacterin to survival rate of Penaeus monodon of different stage en
dc.type Technical Report en
dc.email.author jirasak.t@chula.ac.th
dc.email.author Somkiat.P@Chula.ac.th
dc.email.author paranya@chula.ac.th, Aranya.P@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record