DSpace Repository

การศึกษาเชิงเปรียบเทียบโครงสร้างเกี่ยวกับแนวคิดของแนวทางประชากรคงที่และแนวทางอภิประชากร

Show simple item record

dc.contributor.advisor นพรัตน์ รุ่งอุทัยศิริ
dc.contributor.author พิภาพร เอื้อมธุรพจน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2012-11-28T07:50:12Z
dc.date.available 2012-11-28T07:50:12Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741743491
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26600
dc.description วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างของแนวคิดของประชากรคงที่ และแนวคิดของอภิประชากร ที่ใช้ในการอนุมานหรืออธิบายคุณลักษณะเกี่ยวกับประชากรอันตะ รวมทั้งเปรียบเทียบวิธีการสุ่มตัวอย่างและวิธีการประมาณค่าเฉลี่ยประชากรที่ได้จากแนวคิดทั้งสอง โดยใช้ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาคุณภาพของตัวประมาณ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจนสำหรับเป็นรากฐานในการพัฒนาแนวคิดของทฤษฎีการสำรวจตัวอย่าง ผลการศึกษาโดยสรุปพบว่า แนวคิดของประชากรคงที่ พิจารณาค่าของตัวแปรที่ศึกษาเป็นค่าคงที่ที่ไม่ทราบค่า และไม่สนใจการแจกแจงความน่าจะเป็นของหน่วยประชากร ในขณะที่แนวคิดของอภิประชากร พิจารณาค่าของตัวแปรศึกษาเป็นผลลัพธ์ของตัวแปรสุ่ม และพิจารณาการแจกแจงความน่าจะเป็นของหน่วยประชากรในการสร้าง และพัฒนาตัวแบบเชิงความน่าจะเป็น เพื่อใช้ในการอธิบายความไม่แน่นอนของตัวแปรศึกษา เมื่อพิจารณาการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย พบว่าคุณภาพของตัวประมาณที่ได้จากแนวคิดของประชากรคงที่สูงกว่าคุณภาพของตัวประมาณที่ได้จากแนวคิดของอภิประชากร และจะเท่ากันก็ต่อเมื่อทำการสุ่มตัวอย่างในอภิประชากรเท่ากับขนาดประชากร (n = N)
dc.description.abstractalternative The objective of this study is to illustrate and evaluate the conceptual structures of fixed- population approach and superpopulation approach in provision of sampling finite populations. Based upon both conceptual structures, the study is comparatively undertaken between the random sampling method and average mean population estimation method, by using a mean square error as a main criterion. To clarify the fundamental perception, it provides a basic framework to develop the conceptual structure of the sampling theory. As a result, it reveals that the fixed population approach assumes each population unit is associated a fixed but unknown real number and described as distribution free. Based upon the superpopulation approach, each population unit is interpreted as the outcome of a random variable and is described as the probability distribution for structuring and developing the uncertainty of random variables. With respect to the simple random sampling, it is found that the average accuracy of an estimator based on the fixed population approach is better than the one under the superpopulation approach, and will be identical if the sample size in superpopulation is equal to population size (n=N).
dc.format.extent 1926989 bytes
dc.format.extent 2412027 bytes
dc.format.extent 2769429 bytes
dc.format.extent 819299 bytes
dc.format.extent 8979657 bytes
dc.format.extent 1002811 bytes
dc.format.extent 964911 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.title การศึกษาเชิงเปรียบเทียบโครงสร้างเกี่ยวกับแนวคิดของแนวทางประชากรคงที่และแนวทางอภิประชากร en
dc.title.alternative A comparative study of conceptual structure of fixed population approach and superpopulation approach en
dc.type Thesis es
dc.degree.name สถิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline สถิติ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record