dc.contributor.advisor |
Mansuang Arksornnukit |
|
dc.contributor.author |
Chaiwat Varauboln |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry |
|
dc.date.accessioned |
2012-12-25T02:45:10Z |
|
dc.date.available |
2012-12-25T02:45:10Z |
|
dc.date.issued |
2011 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28104 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 |
en |
dc.description.abstract |
Background and rationale: Different core materials may have an influential effect on the fracture resistance of endodontically treated teeth (ETT) with flared root canals Objective: This study compared the fracture resistance of endodontically treated teeth with flared root canals, restored using core build-up materials with different modulus of elasticity and a quartz fiber post. Material and methods: Thirty two extracted human mandibular premolars were decoronated to obtain 15 mm of root length, endodontically performed and prepared as flared canal with 1 mm of dentin thickness wall to the depth of 7.5 mm into root. All teeth were restored with D.T. Light post #1 and luted with Super-Bond C&B resin cement and then randomly divided into 4 groups (n=8). Four core build-up resin composites: Clearfil Photocore, Multicore Flow, Built-it and Coreflo were used as core foundation. The specimens were embedded in self-cured acrylic resin blocks with a simulated PDL. All specimens were loaded on a universal testing machine with a crosshead speed of 1 mm/min on the buccal surface at an angle of 135๐ to the long axis of the tooth until failure occurred. Results: The fracture resistance of groups 1, 2, 3 and 4 were 864.7 ± 189.8 N, 1519.2 ± 278.9 N, 1110.8 ± 229.8 N, and 901.6 ± 183.6 N, respectively. One-way ANOVA and Tukey HSD post-hoc analysis revealed the fracture resistance of groups 1 was significantly higher than group 2, 3 and 4 (p<0.05). No significant differences were found in groups 2, 3 and groups 4. Conclusion: Within the limitation of this study, Multicore Flow showed better fracture resistance in flared canals with favorable fracture. |
en |
dc.description.abstractalternative |
ความสำคัญและที่มา วัสดุสร้างแกนฟันที่ต่างกันมีอิทธิพลต่อแรงต้านการแตกในการบูรณะฟันที่ได้รับการรักษารากฟันที่มีคลองรากฟันผาย วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบค่าแรงต้านการแตกในการบูรณะฟันที่ได้รับการรักษารากฟันที่มีคลองรากฟันผายด้วยเดือยคอมโพสิตเสริมเส้นใยร่วมกับวัสดุสร้างแกนฟันที่มีค่ามอดูลัสของสภาพความยืดหยุ่นแตกต่างกัน วัสดุและวิธีการ ฟันกรามน้อยล่างซี่ที่สองจำนวน 32 ซี่ ตัดส่วนตัวฟันออกให้เหลือความยาวราก 15 มม. ทำการรักษารากฟันและผายคลองรากฟันให้มีความหนาของเนื้อฟันโดยรอบ 1 มม ลึก 7.5 มม.ของความยาวราก ทำการบูรณะด้วยเดือยฟันดีทีไลท์โพสท์เบอร์1 ร่วมกับการใช้ซูเปอร์บอนด์ซีแอนด์บี เรซินซีเมนต์ในการยึด แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ8 ซี่ โดยใช้วัสดุสร้างแกนฟันสี่ชนิด; เคลียร์ฟิลโฟโตคอร์, มัลติคอร์โฟลว์ เรซิน, บิวท์อิท และ คอร์โฟลว์ เรซินคอมโพสิตในการสร้างแกนฟัน นำชิ้นตัวอย่างที่ได้มายึดในบล็อกอะคริลิกโดยสร้างเอ็นยึดปริทันต์จำลอง จากนั้นนำมาทดสอบด้วยเครื่องทดสอบแรงสากลความเร็วหัวกด 1 มม.ต่อนาที กดที่ด้านใกล้แก้มโดยทำมุม 135 องศากับแนวฟันจนเกิดการแตก ผลการศึกษา ค่าเฉลี่ยความต้านทานการแตกในกลุ่มที่ 1, 2, 3 และ 4 เท่ากับ 864.7 ± 189.8 นิวตัน, 1519.2 ± 278.9 นิวตัน, 1110.8 ± 229.8 นิวตัน และ 901.6 ± 183.6 นิวตันตามลำดับ ผลการทดสอบทางสถิติโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการเปรียบเทียบชนิดตูกีเอชเอสดี พบว่าค่าเฉลี่ยความต้านทานการแตกในกลุ่มที่ 2 มากกว่ากลุ่มที่ 1, 3 และ 4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ในขณะที่กลุ่มที่ 1, 3และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปผลการศึกษา ภายใต้ข้อจำกัดของการทดลองนี้พบว่าการใช้วัสดุสร้างแกนฟันมัลติคอร์โฟลว์ เรซินคอมโพสิตในคลองรากที่ผายให้ค่าแรงต้านทานการแตกหักที่ดีและมีรูปแบบการแตกหักที่เหมาะสม |
en |
dc.format.extent |
1419946 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
en |
es |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1787 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en |
dc.subject |
Root canal therapy |
en |
dc.subject |
Dental therapeutics |
en |
dc.subject |
Dental pulp cavity |
en |
dc.subject |
Dental materials |
en |
dc.subject |
Teeth -- Fractures |
en |
dc.title |
Effect of core material stiffness on fracture resistance in Endodontically treated teeth with flared root canals |
en |
dc.title.alternative |
ผลของความแข็งตึงในวัสดุสร้างแกนฟันต่อแรงต้านการแตกในฟันที่ได้รับการรักษาคลองรากฟันที่มีผนังคลองรากผาย |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
Master of Science |
es |
dc.degree.level |
Master's Degree |
es |
dc.degree.discipline |
Prosthodontics |
es |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en |
dc.email.advisor |
mansuang@yahoo.com |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2011.1787 |
|