dc.contributor.advisor |
ศิริมา เพ็ชรดาชัย |
|
dc.contributor.advisor |
วิจิตรศักดิ์ โชลิตกุล |
|
dc.contributor.author |
ณัฐวัฒน์ ตรีวิโรจน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2012-12-25T06:52:14Z |
|
dc.date.available |
2012-12-25T06:52:14Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28122 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 |
en |
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างและรูปแบบความผิดปกติของกะโหลกศีรษะและใบหน้า ในผู้ป่วยไทยที่มีลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สาม และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิง โดยทำการศึกษาจากภาพรังสี ดิจิตัลวัดกะโหลกศีรษะด้านข้างของผู้ป่วยไทยที่มีลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สาม ที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันที่ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน และคลินิกทันตกรรมพิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 223 คน เป็นเพศชาย 78 คน และเป็นเพศหญิง 145 คน อายุเฉลี่ย 24.15 ปี ตามเกณฑ์ของ Sassouni และใช้สถิติ Chi-Square ในการเปรียบเทียบ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยไทยที่มีลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สาม โดยส่วนใหญ่มีลักษณะขากรรไกรบนปกติ(49.78%)หรือถอยหลัง(49.33%) ขากรรไกรล่างยื่น(82.51%) มีความสัมพันธ์ในแนวดิ่งแบบสบเปิด(66.81%) และมีฟันหน้าบนยื่น(58.74%) เปรียบเทียบระหว่างเพศชายและเพศหญิง พบว่า เพศชายมีความยาวฐานกะโหลกศีรษะ ความยาวขากรรไกรล่าง และความสูงใบหน้าด้านหน้าและด้านหลัง มากกว่าเพศหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05) ทั้งเพศชายและเพศหญิงมีความสูงใบหน้าด้านหน้าส่วนบนน้อยกว่าความสูงใบหน้าด้านหน้าส่วนล่าง และมีความความสูงใบหน้าด้านหลังส่วนบนมากกว่าความสูงใบหน้าด้านหลังส่วนล่าง ทำให้ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ใบหน้าในแนวดิ่งแบบสบเปิด จากการศึกษาสรุปได้ว่า รูปแบบความผิดปกติของโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สามในผู้ป่วยไทยไม่มีความแตกต่างระหว่างเพศ แต่เพศชายมีขนาดกะโหลกศีรษะที่ใหญ่กว่าเพศหญิง |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to investigate characteristics of skeletal Class III malocclusion in a group of Thai subjects and compare the difference between genders of the subjects by using digital lateral cephalometric radiographs of 223 skeletal Class III malocclusion patients according to the Sassouni analysis (78 males and 145 females, mean age was 24.15 years) and used the Chi-Square test for statistical analysis. The results indicate that, most of the Thai subjects in this study have normal (49.78%) or retrognathic maxilla (49.33%), prognathic mandible (82.51%), skeletal openbite (66.81%) and upper anterior tooth protrusion (58.74%). When compared between genders, the results significantly show that males have cranial base length, corpus length and anterior and posterior facial height longer than females (P value = 0.05). Both males and females have lower anterior facial height longer than upper anterior facial height and upper posterior facial height longer than lower posterior facial height so most of the subjects have skeletal openbite. In conclusion, both Thai males and females patients in this study have no difference in skeletal pattern but males have such bigger dimension than females. |
en |
dc.format.extent |
1719962 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1454 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การสบฟันผิดปกติ -- ไทย |
en |
dc.subject |
ฟัน -- ความผิดปกติ |
en |
dc.subject |
เซฟาโลเมทรี |
en |
dc.subject |
กะโหลกศีรษะ |
en |
dc.title |
ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สามในผู้ป่วยไทยกลุ่มหนึ่ง |
en |
dc.title.alternative |
Characteristics of skeletal class III malocclusion in a group of Thai patients |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
ทันตกรรมจัดฟัน |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Sirima.C@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Wichitsak.C@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2011.1454 |
|