DSpace Repository

การนำรูปแบบกระบวนการและแนวนโยบายในการลบทะเบียนประวัติอาชญากรมาใช้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัชพล ไชยพร
dc.contributor.author จงสวัสดิ์ พิสิฐพันพร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2012-12-28T03:57:44Z
dc.date.available 2012-12-28T03:57:44Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28211
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 en
dc.description.abstract การที่บุคคลมีทะเบียนประวัติอาชญากรติดตัว เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตในสังคม กล่าวคือ หากบุคคลผู้กระทำความผิดได้รับโทษจนพ้นโทษออกมาแล้ว และพร้อมที่จะปรับปรุงพฤติกรรมให้ตัวเองเป็นคนดีของสังคม แต่ติดตรงที่มีทะเบียนประวัติอาชญากร ทำให้เกิดความยากลำบากในการสมัครงาน เพราะเป็นบุคคลที่เป็นที่รังเกียจของสังคม ซึ่งจะส่งผลกระทบถึงการมีรายได้ และการดำรงชีวิตในสังคมต่อไป เมื่อเหตุการณ์เป็นเช่นนี้ ในหลายประเทศจึงมีการนำแนวความคิดในการลบทะเบียนประวัติอาชญากรมาใช้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ทั้งนี้โดยมีเหตุผลเพื่อเป็นการให้โอกาสบุคคลที่จะสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติอีกครั้ง โดยไม่มีตราบาปติดตัวอีกต่อไป เพราะฉะนั้นประเทศไทยจึงควรนำการลบทะเบียนประวัติอาชญากรมาใช้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาด้วย ทั้งนี้หากประเทศไทยจะมีการลบทะเบียนประวัติอาชญากร ควรจะอยู่ในรูปแบบของพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อมูลทะเบียนประวัติอาชญากร ซึ่งจะรวบรวมเนื้อหาทั้งหมดเกี่ยวกับทะเบียนประวัติอาชญากร ได้แก่ ความหมายของการลบทะเบียนประวัติอาชญากร บุคคลที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการลบทะเบียนประวัติอาชญากร กระบวนการ ข้อยกเว้น และผลของการลบทะเบียนประวัติอาชญากร en
dc.description.abstractalternative The undesirability of prolonged recording of criminal history is exemplified by its liability to obstruct offenders’ rehabilitation process. For obvious reasons, criminal records tend to create negative impression on prospective employers, which may restrict the offenders’ means of self-preservation. To counter the stigma and discrimination commonly experienced by criminal offenders and to facilitate their reintegration into the society, system for expunction of entries in criminal records have been introduced into the criminal justice process in several foreign jurisdictions. It is submitted that Thailand may also benefit from the introduction of an expunction system. This research proposes that criminal record expunction should be introduced to the Thai criminal justice process by means of legislation, the contents of which should include details concerning definition, conditions for qualification, process, exceptions and consequences of expunction. en
dc.format.extent 2919906 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1500
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ประวัติอาชญากร -- ลบล้าง -- ไทย en
dc.subject กระบวนการยุติธรรมทางอาญา -- ไทย en
dc.title การนำรูปแบบกระบวนการและแนวนโยบายในการลบทะเบียนประวัติอาชญากรมาใช้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทย en
dc.title.alternative Encorcing pattern, process and policy of expunction of criminal records for criminal justice process in Thailand en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Chachapon.J@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.1500


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record