DSpace Repository

การศึกษาประสิทธิผลของไม้เท้าเลเซอร์ช่วยเดินในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่มีปัญหาการเดินติดขัด : รายงานการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author รุ่งโรจน์ พิทยศิริ
dc.contributor.author วรรณนิภัทศ บัวเทศ
dc.contributor.author มานะ ศรียุทธศักดิ์
dc.contributor.author นิติพันธุ์ ศรีบุญเรืองฤทธิ์
dc.contributor.author หลิง, เฮเลน ฮอย ยัง
dc.contributor.author รัตนฤดี เทพหัสดิน ณ อยุธยา
dc.contributor.author จินตนา ดงอานนท์
dc.contributor.author ลลิตา แก้ววิไล
dc.contributor.author ณัฐวดี ต่อสนิท
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.contributor.other โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. ศูนย์รักษาโรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ
dc.contributor.other โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. ศูนย์รักษาโรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ
dc.contributor.other โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. ศูนย์รักษาโรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ
dc.contributor.other โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. ศูนย์รักษาโรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ
dc.date.accessioned 2013-01-11T06:53:49Z
dc.date.available 2013-01-11T06:53:49Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28371
dc.description.abstract วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบและพัฒนาไม้เท้าเลเซอร์และมีเสียง metronome เป็นอุปกรณ์ช่วยเดิน และเพื่อศึกษาผลของการกระตุ้นด้วยแสง เสียง และร่วมกันระหว่างแสงกับเสียงต่อการเดินใน ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่มีการเดินติดขัด ระเบียบวิธีวิจัย: ไม้เท้าช่วยเดินได้รับการพัฒนาและทดสอบใน 4 รูปแบของการกระตุ้น คือ แสง เลเซอร์ เสียงจาก metronome แสงร่วมกับเสียง และไม่มีสิ่งกระตุ้น ศึกษาในผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน จำนวน 38 ราย มี Hoehn & Yahr อยู่ในช่วง 2-3 เข้ารับการทดสอบแบบสุ่มใน 4 กรณี ทั้งในช่วงยา หมดฤทธิ์และในช่วงยาออกฤทธิ์โดยเดินรอบละ 5 เมตร กรณีละ 2 รอบ เก็บข้อมูลโดยการบันทึกภาพรอยเท้าและบันทึกภาพด้วยกล้องวิดีโอ เพื่อศึกษาผลของจำนวนก้าวติดขัด เวลาของก้าว ติดขัด ระยะก้าว ความเร็วและจังหวะในการเดิน ผลการวิจัย: ผลการศึกษาการกระตุ้นด้วยแสงในผู้ป่วย 30 ราย พบว่าการกระตุ้นด้วยแสงมีผลต่อการ ลดลงของจำนวนก้าวติดขัดและเวลาของก้าวติดขัดในช่วงยาหมดฤทธิ์ 2.87±5.82 ก้าว (p<0.002), 1.04±0.80 วินาที (p<0.0001) ตามลา ดับ ช่วยเพิ่มระยะก้าวและความเร็วการเดิน 25.03±18.12 ซ.ม. (p<0.0001), 8.86±10.45 ซ.ม./วินาที (p<0.0001) ตามลา ดับ ส่วนผลของการกระตุ้นด้วยเสียง และ การกระตุ้นด้วยแสงร่วมกับแสง ไม่พบการลดลงของจำนวนก้าวติดขัดและระยะเวลาของก้าวติดขัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับไม้เท้าทั่วไป เมื่อวิเคราะห์แบ่งกลุ่มผู้ป่วยตามระดับ ความรุนแรงของโรคของกลุ่มทดสอบการกระตุ้นด้วยแสง พบว่าผู้ป่วยที่มีระดับความรุนแรงของ โรคมาก (H&Y>2) เดินได้ดีกว่ากลุ่มที่มีระดับความรุนแรงของโรคน้อย (H&Y=2) ตามผลการลดลงของจำนวนก้าวติดขัดและเวลาของก้าวติดขัดในช่วงยาหมดฤทธิ์7.46±7.52 ก้าว (p<0.004), 1.49±0.94 วินาที (p<0.0001) ตามลา ดับ นอกจากนี้พบว่าระยะก้าวและความเร็วในการเดินของ ผู้ป่วยกลุ่มที่มีระดับความรุนแรงของโรคมากเพิ่มขึ้น 34.92±21.49 เซนติเมตร (p<0.0003), 13.15±9.60 ซ.ม./วินาที (p<0.0001) ตามลำดับ ด้วยเช่นกัน สรุปผลการศึกษา: ในการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าไม้เท้าที่มีแสงเลเซอร์เป็นสิ่งกระตุ้นช่วยให้ จำนวนก้าวติดขัดและเวลาของก้าวติดขัดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เช่นเดียวกันกับช่วยให้ ระยะก้าว ความเร็วและจังหวะในการเดินดีขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงยาหมดฤทธิ์ผลของการเดิน ที่ดีขึ้นนี้เห็นได้ชัดเจนในผู้ป่วยกลุ่มที่มีระดับความรุนแรงของโรคมาก (H&Y>2) อุปกรณ์ช่วยเหลือ โดยมีสิ่งกระตุ้นทางสายตาประกอบเข้าไปด้วยนั้น น่าจะได้รับการพิจารณาให้เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่ใช้ร่วมในการบำบัดเพื่อช่วยลดการเดินติดขัดในผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ในอนาคตควรศึกษา เพิ่มเติมในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันจำนวนมากขึ้น เช่นเดียวกันกับไม้เท้าที่มีการเชื่อมต่อแบบไร้สาย เพื่อใช้ในการศึกษาเวลาของก้าวติดขัด และควรเพิ่มความเข้มของแสงเลเซอร์ให้มากยิ่งขึ้น en
dc.description.abstractalternative Objective: To design and develop the laser and metronome-equipped cane and to evaluate the efficacy of the visual, auditory and combined cues in Parkinson’s disease patients with gait freezing. Methods: A cane was developed and tested in 4 different scenarios; visual cues alone (high intensity laser neams), auditory cues alone (regular metronome sounds), combined cues and regular cane. 38 patients with Parkinson’s disease (Hoehn & Yahr stage 2-3) were enrolled in the study, tested in all 4 scenarios during both ‘on’ and ‘off’ medications. With each test paradigm, individual subject was required to walk on a 5-metres track twice. Each subject’s performance was recorded on the videorecorder as well as foot steps were printed on the paper tracking sheet to determine the number of freezes, duration of freezes, stride length, velocity and cadence. Results: 30 patients completed the laser study. The use of laser cane significantly decreased the number of freezes and duration of freezes during ‘off’, compared to regular cane (2.87±5.82, p<0.002; 1.04±0.80 p<0.0001, repectively). In addition, stride length and velocity increased in the group using a laser cane during ‘off’ (25.03±18.12, p<0.0001; 8.86±10.45, p<0.0001, respectively). Auditory cues and combined visual and auditory cues did not significantly decrease the number and duration of freezes, compared to the regular cane. Subanalysis of data revealed that patients with H&Y>2 (severe PD) had better degree of improvement compared to patients with H&Y=2 in term off the absolute reduction in number and duration of freezes (7.46±7.52, p<0.004, 1.49±0.94, p<0.0001, respectively). Moreover, stride length and velocity increased in the severe group using a laser cane during ‘off’ (34.92±21.49, p<0.0003, 13.15±9.60, p<0.0001, respectively). Conclusion: In this study, laser cane was shown to significantly reduce the number and duration of freezes as well as improved stride length, velocity and cadence during ‘off’. Better degree of improvement is more evident in PD patients with more severe disease (H&Y>2). Assisting devices, specifically based on visual cues, may be consideres as an alternative therapy to minimize the gait freezing. Further study is currently being conducted to include more subjects as well as specifically design the cane to employ a wireless technology toindicate the duration of freezes and to deliver a higher intensity laser beam. en
dc.description.sponsorship ได้รับการอุดหนุนการวิจัยจากเงินทุนอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2552 en
dc.format.extent 2620639 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher ศูนย์รักษาโรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject โรคพาร์กินสัน en
dc.subject สมอง -- โรค en
dc.subject ไม้เท้า en
dc.title การศึกษาประสิทธิผลของไม้เท้าเลเซอร์ช่วยเดินในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่มีปัญหาการเดินติดขัด : รายงานการวิจัย en
dc.title.alternative Efficacy of laser-guided walking devices in patients with Parkinson’s disease with predominant gait freezing en
dc.type Technical Report es
dc.email.author rbhl@ucla.edu
dc.email.author narak_pt@homail.com
dc.email.author smana@chula.ac.th
dc.email.author helenling@gmail.com
dc.email.author ratanaruedee@hotmail.com
dc.email.author chin-tana@hotmail.com
dc.email.author lanla-lalita@hotmail.com
dc.email.author nut4420@yahoo.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record