dc.contributor.author |
จูงใจ ปั้นประณต |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2013-02-20T09:35:35Z |
|
dc.date.available |
2013-02-20T09:35:35Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28999 |
|
dc.description |
โครงการวิจัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์) ; เเลขที่ 104G-CHEM-2552 |
en |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียมบนอะลูมินาสำหรับใช้ในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของอะเซทิลีนเพื่อกำจัดสารปนเปื้อนอะเซทิลีนปริมาณเล็กน้อยออกจากสายป้อนเอทิลีนก่อนเข้าสู่กระบวนการพอลิเมอไรเซชันของเอทิลีนในการผลิตพอลิเอทิลีนต่อไป โดยได้ศึกษาปัจจัยต่างๆ ได้แก่ วิธีการสังเคราะห์อะลูมินา (วิธีโซล-เจล วิธีโซลโวเทอร์มอลและวิธีการตกตะกอนร่วม) และการเติมโลหะตัวที่สอง (เหล็ก) ลงบนอะลูมินานำไปใช้เป็นตัวรองรับในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียมบนอะลูมินา จากผลการทดลองพบว่าวิธีการที่เหมาะสมในการสังเคราะห์อะลูมินาสำหรับใช้เป็นตัวรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียมบนอะลูมินาสำหรับใช้ในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันแบบเลือกเกิดของอะเซทิลีนเป็นเอทิลีนคือวิธีโซลโวเทอร์มอลเนื่องจากทำให้ได้ผลึกของอะลูมินาที่มีขนาดพอเหมาะ มีรูพรุนขนาดกลางที่มีการกระจายตัวของขนาดรูพรุนในช่วงแคบ ส่งผลให้แพลเลเดียมมีการกระจายตัวสูง ทำให้มีความว่องไวในการทำปฏิกิริยามากขึ้น นอกจากนี้อันตรกิริยาที่แข็งแรงระหว่างแพลเลเดียมและอะลูมินาที่สังเคราะห์โดยวิธีโซลโวเทอร์มอลยังช่วยเพิ่มค่าการเลือกเกิดเป็นเอทิลีนอีกด้วย ส่วนการเติมเหล็กปริมาณเล็กน้อยลงในตัวรองรับอะลูมินาในระหว่างการเตรียม (ประมาณ 1% โดยน้ำหนัก) ช่วยลดความเป็นกรดของอะลูมินาได้ โดยไม่เปลี่ยนแปลงพื้นที่ผิวมากนัก ทำให้เมื่อนำไปใช้เป็นตัวรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียมบนอะลูมินาในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันแบบเลือกเกิดของอะเซทิลีน ส่งผลให้ตัวเร่งปฏิกิริยามีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to develop a highly efficient Pd/α-A12O3 catalyst for the selective hydrogenation of acetylene used for removal trace amount of acetylene contaminant in ethylene feed stream in the polyethylene production process. The effects of preparation method namely solvothermal, sol-gel, and precipitation and an addition of small amount of a second metal (Fe) to alumina support on the catalyst performances have been investigated. The best catalyst performance of Pd/α-A12O3 catalysts in the selective hydrogenation of acetylene was obtained using the solvothermal-derived α- A12O3 due to their suitable properties such as high surface area and narrow pore size distribution. A stronger interaction between Pd and A12O3 prepared by solvothermal also facilitated H2 reduction at low temperature and desorption of ethylene and CO. The use of nanocrystalline Fe-modified α A12O3 as supports for Pd catalysts also resulted in an improved catalyst performance in selective acetylene hydrogenation by lower acidity of the α-A12O3 supports so that the amount of coke deposits was reduced. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนงบประมาณแผ่นดินปี 2552 |
en |
dc.format.extent |
27704150 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียม |
en |
dc.subject |
โพลิเอทิลีน |
en |
dc.subject |
อะเซทิลีน |
en |
dc.title |
การกำจัด สารปนเปื้อนอะเซทิลีนในการผลิตพอลิเอทิลีนโดยตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียม |
en |
dc.title.alternative |
Removal of acetylene contaminants in polyethylene production by Pd catalysts |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
joongjai.p@eng.chula.ac.th |
|