DSpace Repository

xmlui.ArtifactBrowser.ConfigurableBrowse.title.metadata.discipline

xmlui.ArtifactBrowser.ConfigurableBrowse.title.metadata.discipline

Sort by: Order: Results:

  • สุราชดิษฐ์ ศรีสัตย์ชยะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    เพลงเรื่อง เป็นเพลงประเภทหนึ่งซึ่งสันนิษฐานว่า มีมาแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ลักษณะของเพลงเรื่อง คือ การร้อยเรียงเพลงต่างๆ เข้ามาบรรเลงกันอย่างมีระเบียบ การดำเนินทำนองของระนาดเอกในเพลงเรื่องสี่ภาษานี้มีลักษณะพิเศษแตกต่าง ...
  • ณัฐวุฒิ นราวุฒิชัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    บทประพันธ์ "ไต้ฝุ่นนารี" ซิมโฟนีนี้ แต่งโดยมีเนื้อหาบรรยายถึงไต้ฝุ่นที่มีชื่อว่า "ไต้ฝุ่นนารี" ซึ่งเกิดในฤดูฝนของปีพ.ศ. 2556 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ผู้เขียนต้องเดินทางออกนอกบ้านบ่อยๆ ผู้เขียนได้บรรยายถึงความรู้สึกที่มีต่อไต้ ...
  • จิตตินันท์ กลิ่นน้ำหอม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558)
    บทประพันธ์อิมพร็อมพ์ตูสำหรับฮอร์น 4 ตัวกับวงออร์เคสตราขนาดเล็กเป็นบทประพันธ์ที่ผสมผสานระหว่างกลุ่มเครื่องดนตรีฮอร์นกับวงออร์เคสตรา ผลงานนี้เป็นการแสดงความสามารถของเครื่องดนตรีฮอร์นที่ไม่มุ่งเน้นทักษะการเดี่ยวฮอร์น ...
  • ปิยภูมิ พรหมโยธิน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558)
    บทประพันธ์เปียโนคอนแชร์โตหมายเลขหนึ่ง เป็นบทประพันธ์สำหรับเปียโนประกอบกับวงเชมเบอร์ออร์เคสตรา ประกอบด้วย 3 กระบวน มีอัตราความเร็วที่แตกต่างกันคือ อัตราเร็วปานกลาง อัตราช้า และ อัตราเร็ว สื่อถึงอารมณ์ที่หลากหลายในแต่ละกระบวน ...
  • ศักดิ์ทวี จิตไพศาลวัฒนา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    บทประพันธ์เพลงเสียงสะท้อนแห่งสหัสวรรษ สำหรับวงซิมโฟนีออร์เคสตรา ประพันธ์ขึ้น เพื่อแสดงออกถึงมิติของเสียงในช่วงสหัสวรรษที่ผ่านมา ในบทเพลงนี้แบ่งโครงสร้างเป็น 3 กระบวน ในแต่ละกระบวนจะแสดงออกถึงความเร็วที่แตกต่างกันคือ ...
  • คชภัค บุญวิภารัตน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงเดี่ยวบาสซูนในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับบทเพลงที่ใช้ในการแสดงบาสซูน ประกอบด้วยการศึกษาเกี่ยวกับผู้ประพันธ์ในด้านชีวประวัติด้านการประพันธ์ การตีความบทเพลง ศึกษาแนวคิดและเทคนิคการบรรเลง ...
  • ถิรพร ทรงดอน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวในครั้งนี้ มีจุดประสงค์ในการถ่ายถอดบทประพันธ์ชุดเพลงร้องในภาษาเยอรมัน โดยผู้ประพันธ์ดนตรีที่มีชื่อเสียงโด่งดังในยุค โรแมนติก การแสดงเดี่ยวในครั้งนี้ผ่านการฝึกซ้อม และวิเคราะห์บทประพันธ์ที่นำมาใช้แสดงอ ...
  • โฉมวิลัย ยูฮันเงาะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวระดับมหาบัณฑิตโดย โฉมวิลัย ยูฮันเงาะ : ผู้วิจัยได้คัดเลือกบทเพลงขับร้องจากอุปรากร ละครเพลง และบทเพลงประกอบภาพยนตร์ รวมทั้งสิ้น 14 เพลง โดยคำนึงถึงความน่าสนใจ ความหลากหลายของลีลา อารมณ์ ความโด่งดัง ...
  • กรวิช เทพหัสดิน ณ อยุธยา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวโดย กรวิช เทพหัสดิน ณ อยุธยา มีจุดประสงค์ในการพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงการขับร้องเดี่ยว อย่างมีมาตรฐาน ผู้แสดงได้คัดเลือกบทประพันธ์ที่มีคุณค่าและมีความเหมาะสมกับการนำเสนอและจัดแสดงในระดับบัณฑิตศึกษา ...
  • กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงการขับร้องครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านการร้องของผู้แสดง ทางด้านเทคนิคของการ ขับร้อง ศึกษาประวัติของบทเพลง และประวัติผู้ประพันธ์เพลง การตีความ และการวิเคราะห์บทเพลง รวมถึงการเตรียมการจัดแสดงผลงาน ...
  • ชัยพร พวงมาลี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงขับร้องครั้งนี้โดยมีจุดประสงค์ในการถ่ายทอดบทประพันธ์ประเภทคลาสสิกในรูปแบบหลากหลายภาษา และยุคสมัยของคีตกวีชาวตะวันตก ผ่านการประยุกต์เทคนิคการขับร้องของของนักร้องชาวตะวันตกผสมผสานให้เข้ากับกายภาพและลักษณะของนักร้องช ...
  • พันธวิทย์ อัศวเดชเมธากุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวโดย พันธวิทย์ อัศวเดชเมธากุล มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาและวิเคราะห์บทเพลง เทคนิคการขับร้องและการนำเสนอบทเพลงด้วยการใช้เสียงประเภทเคาน์เตอร์เทเนอร์ ซึ่งเป็นลักษณะเสียงที่ต้องใช้เทคนิคการขับร้องขั้นสู ...
  • มัลลิกา ชมภู (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    การแสดงขับร้องเดี่ยว โดยมัลลิกา ชมภู มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอการตีความและการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของบทเพลง Old American Songs ชุด 1 และชุด 2 ซึ่งเรียบเรียงโดยคีตกวีระดับตำนานชาวอเมริกัน แอรอน คอปแลนด์ ในปี ค.ศ.1950 และ ...
  • ลลิดา ลัดดากลม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวในครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการแสดงของผู้ขับร้อง ในด้านวิธีการปฏิบัติการขับร้องเดี่ยว การวิเคราะห์บทเพลง ศึกษาประวัติเพลงในยุคต่างๆ รวมถึงผู้ประพันธ์เพลง เพื่อให้เข้าใจถึงบริบททางสังคม ...
  • วงดาว วัชรานันท์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงเดี่ยวขับร้องคลาสสิกครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะและศักยภาพทางด้านการขับร้องคลาสสิก ทั้งด้านการฝึกซ้อม การตีความ การวิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าข้อมูลของบทเพลง รวมถึงการดำเนินงานการจัดแสดง โดยผู้แสดงได้คัดเลือกบ ...
  • ศฤนห์ บุญช่วย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวโดย ศฤนห์ บุญช่วย มีจุดประสงค์เพื่อศึกษารายละเอียดของบทเพลง ในหนังสือ Twelve Poems of Emily Dickinson เป็นเพลงร้องศิลป์ (art song) ประพันธ์โดย แอรอน คอปแลนด์ (Aaron Copland, ค.ศ.1900-1990) นักประพันธ์ ...
  • แก้วกาญจน์ ชื่นเป็นนิจ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวโดย แก้วกาญจน์ ชื่นเป็นนิจ มีจุดประสงค์ในการพัฒนาศักยภาพในด้านการแสดงขับร้องเดี่ยวอย่างมีมาตรฐาน ผู้แสดงได้คัดเลือกบทประพันธ์ที่มีคุณค่าและมีความเหมาะสมสำหรับการนำเสนอในระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งเป็นมาตรฐานโลก ...
  • สิริเพ็ญ พฤฒิพิทักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    การแสดงขับร้องในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพในการขับร้องของผู้แสดงทั้งด้านเทคนิคการขับร้องการตีความบทเพลงรวมถึงศึกษาและปฏิบัติจริงในการจัดการแสดงขับร้อง เป็นแนวทางในการศึกษาบทเพลงจากยุคต่างๆโดยรวบรวมข้อมูลของบท ...
  • นิชิสา ทรัพย์สินอำนวย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    ซินโฟเนียของเจ.เอส. บาค เป็นบทเพลงสำหรับเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดในยุคบาโรก มีทั้งหมด 15 บทเพลง โดยการแสดงชุดนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านการบรรเลงเปียโนในลักษณะดนตรีแบบหลายแนวเสียง และเพื่อศึกษาลีลาการบรรเลงเปียโ ...
  • ธาณิช แสงวิชัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงเดี่ยวกีตาร์คลาสสิกครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและส่งเสริมทักษะด้านการบรรเลงกีตาร์คลาสสิกโดยนักแสดงได้ตัดเลือกบทเพลงที่ต่างยุกคต่างสมัยกันเพื่อสาธิตความเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนาการของดนตรีในแต่ละยุคสมัย การแสดงเดี่ยว ...