Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • ทิพยาภรณ์ ทองแช่ม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    งานวิจัยเรื่อง วิวัฒนาการลวดลายประดับสถาปัตยกรรมร่วมแบบเขมรสู่แรงบันดาลใจในการตกแต่งสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในเขตพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิวัฒนาการ คติความเชื่อ และรูปแบบลวดลายสลักตกแต่งสถาปัตยกรรมศิลป ...
  • สุภัชชา เอกพิริยะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยวเปียโนในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะการบรรเลงเปียโนในระดับบัณฑิตศึกษา ผู้แสดงได้คัดเลือกบทเพลงจากหลากหลายยุคสมัย ซึ่งการแสดงบทเพลงในแต่ละยุคผู้แสดงจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในลักษณะดนตรีของแต่ละยุคด้วย ...
  • วรรณวิภา วงวาน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทการแสดงนางลิเกของครูสกุณา รุ่งเรือง โดยใช้กระบวนการวิจัยคือ ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์และสังเกตการแสดงลิเก  จากวีดิทัศน์ ฝึกกระบวนท่ารำจากครูสกุณา รุ่งเรืองเพื ...
  • วรชา ออกกิจวัตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    บทประพันธ์เพลงมหาบัณฑิตนิพนธ์ “มัทนะพาธา” คีตวรรณกรรมสำหรับวงเชมเบอร์ออร์เคสตรา ได้รับแรงบันดาลใจมาจากวรรณคดีไทย เรื่อง มัทนะพาธา บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โดยนำมาประพันธ์เป็นดนตรีพ ...
  • รวิสรา โสรัตน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยวเปียโนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการบรรเลงเปียโน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์และตีความบทเพลงประเภทเพรลูด ฝึกฝนและพัฒนาเทคนิคการบรรเลง ศึกษาการจัดการและเตรียมความพร้อมในการแสดงเดี่ยวเปียโนต่อหน้าสาธารณชน ...
  • มัชฌาพร ยมนา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยวเปียโนในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านการบรรเลงเปียโน โดยเน้นการศึกษาข้อมูลเชิงลึกในด้านการวิเคราะห์บทประพันธ์ การศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับผู้ประพันธ์และวรรณกรรมทางดนตรี และทักษะการแสดงดน ...
  • ภาณุพันธุ์ วัณณกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยวคลาริเน็ตในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับบทเพลงที่ใช้ในการแสดงคลาริเน็ต ประกอบด้วยประวัติผู้ประพันธ์เพลง ด้านเทคนิคการประพันธ์และแรงบันดาลใจในการประพันธ์เพลง การตีความบทเพลง ...
  • ภัทรา พงษ์แสงสุริยะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    บทประพันธ์เพลงมหาบัณฑิตนิพนธ์ : “เมตามอร์โฟซิส” สำหรับวงดุริยางค์เครื่องสายเป็นผลงานสร้างสรรค์ในประเภทดนตรีพรรณนา มีความยาวของบทประพันธ์ประมาณ 17 นาที ชิ้นงานมีการนำแนวคิดจากวรรณกรรม ชีววิทยา และจิตวิทยามาผนวกเข้าไว้ด้วยกัน ...
  • พิมพ์รพี ไตรชวโรจน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    บทประพันธ์เพลง “คีตคณิตแห่งห้วงเสียงยูโทเปีย” สำหรับวงเชมเบอร์อองซอมเบลอ เป็นบทประพันธ์ที่นำเอานวัตกรรมเกี่ยวกับดนตรีที่น่าสนใจของนักประพันธ์ในศตวรรษที่ 20 มาต่อยอด เช่น จังหวะ ระดับเสียง การประสานเสียง สีสันของเสียง ...
  • ปัณณทัต ลำเฟือย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง การแสดงคณะเสียงอิสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติคณะ การแสดง และการจัดการของคณะเสียงอิสาน วิธีดำเนินการวิจัยด้วยการ ค้นคว้าเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า ...
  • ธนกร บุญมาสืบ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    บทประพันธ์เพลงมหาบัณฑิตนิพนธ์ : “หน้ากากแห่งความเชื่อ” สำหรับวงดนตรีออกเท็ตอองซอมเบิล (Octet Ensemble) เป็นผลงานที่ผสมผสานระหว่างดนตรีพื้นบ้านของประเทศ 3 ประเทศ ได้แก่ มาลาวี ญี่ปุ่นและไทย โดยอ้างอิงดนตรีพื้นบ้านที่เกี่ย ...
  • ธัชพล นามวงษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยววิโอลาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการบรรเลงวิโอลาให้มีคุณภาพมากขึ้น ศึกษาวิเคราะห์และตีความบทเพลง เพื่อนำมาพัฒนาให้กับการแสดง รวมถึงแนวทางในการบรรเลงและเพิ่มความเข้าใจในตัวบทเพลงซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่ทำ ...
  • ถิรพร ทรงดอน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวในครั้งนี้ มีจุดประสงค์ในการถ่ายถอดบทประพันธ์ชุดเพลงร้องในภาษาเยอรมัน โดยผู้ประพันธ์ดนตรีที่มีชื่อเสียงโด่งดังในยุค โรแมนติก การแสดงเดี่ยวในครั้งนี้ผ่านการฝึกซ้อม และวิเคราะห์บทประพันธ์ที่นำมาใช้แสดงอ ...
  • ฐิศรา วงศ์แสงจันทร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยวเปียโนครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านเทคนิคการบรรเลงเปียโน นำเสนอมุมมองเชิงตีความและเชิงวิเคราะห์เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้และทักษะการแสดงดนตรีศตวรรษที่ยี่สิบให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งในวิทยานิพนธ์จะรวบ ...
  • โจเซฟ วงศ์พิเชฐชัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยวเปียโนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาแนวทางการฝึกซ้อม ค้นคว้าข้อมูล และวิเคราะห์บทเพลง เพื่อวิเคราะห์ตีความบทเพลงและนำเสนอการบรรเลงเปียโน รวมไปถึงการศึกษาเกี่ยวกับชีวประวัติของผู้ประพันธ์เพลง ...
  • จารุพงศ์ จันทรีย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    วิทยานิพนธ์เรื่องละครไทยเรื่อง เฮเลนแห่งทรอย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์ละคร ที่มีเนื้อเรื่องจากต่างชาติให้เป็นละครไทย โดยการทดลองสร้างการแสดงและทำการวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้จากการผสมผสานศิลปะทั้งสองวัฒนธรรม ระหว่างนาฏก ...
  • ขวัญ เภกะนันทน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    บทประพันธ์เพลงมหาบัณฑิตนิพนธ์ “แม่น้ำลพบุรี” เป็นบทประพันธ์ประเภทดนตรีพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์ผลงานเพลงโดยใช้เทคนิคคัดทำนองและการพัฒนาโมทีฟมาประยุกต์ บรรเลงในรูปแบบวงออร์เคสตราขนาดมาตรฐานซึ่งมีความยาว 11 นาที ...
  • กุลิสรา แสงจันทร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยวไวโอลินครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการบรรเลงไวโอลินให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น และศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับบทเพลงที่นำมาใช้ในการบรรเลงเดี่ยวรวมถึง ศึกษาประวัติของผู้ประพันธ์เพลง และวิเคราะห์องค์ประกอบในบทเพลง ...
  • ดิเรก เกตุพระจันทร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    ดุษฎีนิพนธ์การประพันธ์เพลง: เทพยดินแดน “เชียงราย”สำหรับวงแจ๊สอองซอมเบิลร่วมสมัย เป็นการประพันธ์ผลงานสร้างสรรค์ประเภทดนตรีพรรณนา เพื่อนำเสนอคุณค่าเสียงแห่งวัฒนธรรมและวรรณกรรมซึ่งเป็นตำนานประวัติศาสตร์ที่มีความสำคัญยิ่งของ ...
  • กฤติน สุธรรมชัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563)
    การแสดงเดี่ยวเปียโนโดย กฤติน สุธรรมชัย มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้แสดงในด้านเทคนิคการบรรเลงเปียโน การศึกษาประวัตินักประพันธ์เพลงชาวรัสเซียและความเป็นมาของบทเพลง การวิเคราะห์บทเพลง การตีความบทเพลง และวิธีการฝึกซ้อม ...