DSpace Repository

อิทธิพลของรูปแบบความผูกพันต่อลักษณะนิสัยการให้อภัย : ทวิโมเดลแข่งขันโดยมีตัวแปรการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของผู้อื่นและการหมกมุ่นครุ่นคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน

Show simple item record

dc.contributor.advisor จรุงกุล บูรพวงศ์
dc.contributor.author รวิตา ระย้านิล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2013-04-27T13:41:15Z
dc.date.available 2013-04-27T13:41:15Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30697
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลการเป็นตัวแปรส่งผ่านของการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของผู้อื่นและการหมกมุ่นครุ่นคิด ในความสัมพันธ์ระหว่างความวิตกกังวลในความผูกพันและการหลีกเลี่ยงในความผูกพัน กับลักษณะนิสัยการให้อภัย ในบริบททั่วๆ ไป นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระดับปริญญาตรีจำนวน 355 คน ตอบชุดแบบสอบถามที่ประเมินรูปแบบความผูกพัน การรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของผู้อื่น การหมกมุ่นครุ่นคิด และลักษณะนิสัยการให้อภัย ซึ่งผู้วิจัยได้สลับลำดับของมาตรวัดในแบบสอบถามแต่ละชุดด้วยวิธีการสุ่ม ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า ความวิตกกังวลในความผูกพันและการหลีกเลี่ยงในความผูกพันสามารถร่วมกันทำนายลักษณะนิสัยการให้อภัยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพบว่า ความวิตกกังวลในความผูกพันและการหลีกเลี่ยงในความผูกพันมีอิทธิพลต่อลักษณะนิสัยการให้อภัย โดยอิทธิพลของความวิตกกังวลในความผูกพันต่อลักษณะนิสัยการให้อภัย มีการหมกมุ่นครุ่นคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน ขณะที่อิทธิพลของการหลีกเลี่ยงในความผูกพันต่อลักษณะนิสัยการให้อภัย มีการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของผู้อื่นและการหมกมุ่นครุ่นคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน en
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to examine the mediating effects of empathy and rumination on the association between both anxious and avoidant attachment and trait forgiveness. Three hundred and fifty five Chulalongkorn University's undergraduate students completed a battery of questionnaires assessing their attachment styles, empathy, rumination, and trait forgiveness, presented in a random order. The multiple regression analysis shows that anxious together with avoidant attachment significantly predict trait forgiveness. Moreover, Structural equation modeling reveals that anxious as well as avoidant attachment has effects on trait forgiveness. In addition, the effect of anxious attachment on trait forgiveness is mediated by rumination only, while the effect of avoidant attachment on trait forgiveness is mediated by both empathy and rumination. en
dc.format.extent 1777844 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/ 10.14457/CU.the.2010.509
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การให้อภัย en
dc.subject การร่วมรู้สึก en
dc.subject ความครุ่นคิดเกี่ยวกับตนเอง en
dc.title อิทธิพลของรูปแบบความผูกพันต่อลักษณะนิสัยการให้อภัย : ทวิโมเดลแข่งขันโดยมีตัวแปรการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของผู้อื่นและการหมกมุ่นครุ่นคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน en
dc.title.alternative Effects of attachment styles on trait forgiveness : the two competing models of empathy and rumination as mediators en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาสังคม es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Jarungkul.B@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.509


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record