DSpace Repository

การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาเงินบนโคบอลท์ออกไซด์ สำหรับควบคุมไอเสียรถยนต์ : รายงานฉบับสมบูรณ์

Show simple item record

dc.contributor.author สมชาย โอสุวรรณ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
dc.date.accessioned 2013-05-07T10:14:39Z
dc.date.available 2013-05-07T10:14:39Z
dc.date.issued 2539
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30828
dc.description.abstract ได้มีงานวิจัยจำนวนมากศึกษาปฏิกิริยาออกซิเดชันของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ และไฮโดรคาร์บอน ซึ่งเป็นมลพิษของอากาศที่เกิดจากไอเสียจากยายนพาหนะต่าง ๆ โดยทำการศึกษาและค้นคว้าพัฒนาวิธีการออกซิไดซ์โดยตัวเร่งปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่ำ ในงานวิจัยนี้เลือกใช้เอธิลีนเป็นตัวแทนของไฮโดรคาร์บอน เพราะนอกจากเอธิลีนจะเป็นตัวแทนของสารไฮโดรคาร์บอนในการทดสอบการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงแล้ว เอธิลีนยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเผาไหม้อของเชื้อเพลิงที่ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงอีกด้วย การทดลองนี้ได้ทำการสังเคราะห์ัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลท์-เงินออกไซด์ โดยวิธีการตกผลึกร่วม (Coprecipitation) ของสารละลายเงินไนเตรตและโคบอลท์ในเตรต เพื่อศึกษาผลกระทบของปริมาณธาตุเงิน (Silver oadings : 5, 10, 20 %) และอุณหภูมิการเผา (Calcination Temperature : 250, 350, 450 องศาเซลเซียส) ต่อความว่องไว (Activity) โดยการวิเคราะห์หาพื้นที่ผิวด้วยวิธี BET องค์ประกอบและขนาดของผลึกด้วยวิธี XRD และความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาจากความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลง (% Conversion) จากการทดลองพบว่า องค์ประกอบของตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีธาตุเงินอยู่ 10% และเผาที่อุณหภูมิ 250 องศาเซลเซียส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับปฏิกิริยาออกซิเดชันคาร์บอนมอนนอกไซด์และเอธิลีน งานวิจัยนี้นอกจากจะเน้นประเด็นดังกล่าวแล้ว ยังได้ศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยา รวมทั้งคำนวณค่าพลังงานกระตุ้น และอันดับของปฏิกิริยาออกซิเดชันของคาร์บอนมอนนอกไซด์และของเอธิลีนด้วย
dc.description.abstractalternative Low temperature atalytic oxidation of carbon monoxide and hydrocarbons have been studied by a large number of researchers due to its signifiance in environmental pollution control. These toxic gases are formed by incomplete combustion from car engines. In this work ethylene was chosen because it is commonly used as a substitute test fuel for hydrocarbon fuels and is usually an intermediate product in combustion of heavy hydrocarbons. Cobalt-silver composite oxide catalysts were synthesized by coprecipitation from an aqueous solution of cobalt nitrate and silver nitrate. The effets of silver loading (5, 10, 20 %) and calcination temperature (250, 350, 450 ℃) were investigated. The BET surfae area, XRD and deactivation curve were used to described these effects on catalytic activity. It was found that the 10% ag/Co₃O₄ calcined at 250 ℃ was the most suitable for both carbon monoxide and ethylene oxidation. Besides, the kinetics of both reactions were studied to find their reaction orders and activation energies
dc.description.sponsorship งบประมาณแผ่นดินประจำปี 2539 en
dc.format.extent 1705092 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ก๊าซ (ท่อไอเสีย) en
dc.subject การเผาไหม้ en
dc.subject เอธิลีน en
dc.subject ตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ en
dc.subject ตัวเร่งปฏิกิริยา -- การสังเคราะห์ en
dc.subject ซิลเวอร์ออกไซด์ en
dc.title การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาเงินบนโคบอลท์ออกไซด์ สำหรับควบคุมไอเสียรถยนต์ : รายงานฉบับสมบูรณ์ en
dc.title.alternative Development of cobalt oxide supported silver catalyst for vehicle exhuast control en
dc.type Technical Report es
dc.email.author ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record