dc.contributor.advisor |
Kris Angkanaporn |
|
dc.contributor.advisor |
Indhira Kramomtong |
|
dc.contributor.advisor |
Noppadon Pirarat |
|
dc.contributor.author |
Mullica Pongpiew |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science |
|
dc.date.accessioned |
2013-06-07T01:15:58Z |
|
dc.date.available |
2013-06-07T01:15:58Z |
|
dc.date.issued |
2010 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32014 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc) -- Chulalongkorn University, 2010 |
en |
dc.description.abstract |
Salmonellosis is widely known as major bood-born pathogen involved with poultry production. The objectives of this study were to determine the effect of (ORAs+ HMTBa) (formic acid, propionic acid and 2-Hydroxy-4-Methylthio Butanoic acid) on intestinal function and antioxidant enzyme activity of broilers challenged with nalidixic resistant Salmonella Enteritidis (SE). Five hundred eighty-eithty, one day old, male, Arbor acre broilers were divided into 4 treatment groups; CON group, SE group, SE+ORAs group and SE+(ORAs+ HMTBa) group, respectively. For SE+(ORAS) and SE+ (ORAs+HMTBa) groups were received organic acid in water at the first two weeks and the last week of experiment and were challenged with SE (108 cfu/ml) at days 1 and 7 as similar to SE group. In each replicate, SE was inoculated to half of the chicks. Corn-soybean meal basal feed and water were given ad libitum for 42 days. Qualitative and semi-quantitative SE examination, ileal digestibility and intestinal morphological study including liver and serum antioxidant enzyme activities were examined. The result demonstrated the horizontal transmission from inoculated chicks to non-inoculated chicks in liver-spleen pool and ileo-cecal content at day 14. Furthermore, the highest SE count was found in the ileo-cecal content of positive control group (SE) and no SE count was found in SE+ (ORAs+ HMTBa) group at day 21. IIeal digestibility of protein and fat in both ORA groups (groups 3 and 4) were higher than SE group at day 21 (P<0.05). At day 42, there was no significant change in digestibility among groups. It is discovered that villus height was higher and crypth depth was lower in SE+ (ORAs+HMTBa) group at days 14 and 21. There were no significant changes in antioxidant enzyme activity (GSH-px and GSH) and MDA concentration in all experiment groups at day 14, 21 and 42. In conclusion, the present study showed that combination of 2-Hydroxy-4-Methylthio Butanoic acid (HMTBa), formic acid and propionic acid were more efficient to prevent the horizontal transmission of SE in liver-spleen pool and ileo-cecal contents than conventional mixed organic acids. Furthermore, the ileal digestibility of protein and fat in chicks receiving ORAs+ HMTBa improved significant in the starter period of SE treatment. ORAs+HMTBa neither elicited the antioxidant effect nor reduced the pro-oxidant MDA in liver. The gut morphology was less influenced by effects of enhanced mixed organic acids. |
en |
dc.description.abstractalternative |
Salmonellosis เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียในอาหารสำคัญที่ติดต่อจากสัตว์สู่คน ซึ่งเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีก การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการใช้กรดอินทรีย์รวม (กรดฟอร์มิก, กรดโพรพิโอนิก และ HMTBa) ต่อการทำงานของลำไส้ และการต้านอนุมูลอิสระในไก่เนื้อ ที่ได้รับเชื้อซัลโมเนลลา เอนเทอริกา ซีโรวาร์ เอนเทอริติดิสที่ต้านต่อกรดนาลิไดสิก โดยทำการทดลองในไก่กระทงเพศผู้อายุ 1 วัน จำนวน 588 ตัว แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มควบคุม, กลุ่มที่ได้รับเชื้อซัลโมเนลล่า, กลุ่มที่ได้รับกรดอินทรีย์รวม (กรดฟอร์มิก และ กรดโพรพิโอนิก) และ กลุ่มที่ได้รับกรดอินทรีย์รวม และ HMTBa ตามลำดับโดยกลุ่มที่ 3 และ 4 ได้รับกรดอินทรีย์ในน้ำใน 2 สัปดาห์แรก และ สัปดาห์สุดท้ายของการทดลอง อีกทั้งได้รับเชื้อ ซัลโมเนลล่าเช่นเดียวกับกลุ่มที่ 2 ที่ความเข้มข้น 108 cfu/ml ในวันที่ 1 และ 7 โดยทำการป้อนเชื้อครึ่งหนึ่งของจำนวนไก่ในแต่ละกลุ่มการทดลอง มีการให้อาหารพื้นฐานที่มีองค์ประกอบของข้าวโพดและกากถั่วเหลือง และน้ำ อย่างเพียงพอตลอดการทดลอง 42 วัน ทำการวิเคราะห์เชื้อซัลโมเนลล่าเชิงคุณภาพและกึ่งปริมาณ การย่อยได้ของสารอาหารที่ลำไส้เล็กส่วนปลาย การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางจุลกายวิภาคของลำไส้ส่วนต่าง ๆ และ ปริมาณเอนไซม์ต้านออกซิเดชั่นในตับและซีรัม จากการศึกษาพบการแพร่กระจายเชื้อซัลโมเนลล่าจากกลุ่มที่ได้รับเชื้อไปยังกลุ่มที่ไม่ได้รับเชื้อทั้งบริเวณตับ-ม้าม และ ลำไส้ส่วนปลาย ในวันที่ 14 ของการทดลอง นอกจากนี้พบเชื้อซัลโมเนลล่าสูงสุดที่ลำไส้ส่วนปลายในกลุ่ม SE group และไม่พบเชื้อซัลโมเนลล่าที่บริเวณตับ-ม้าม ในกลุ่ม SE+ (ORAs+HMTBa) การย่อยได้ของโปรตีนและ ไขมันในกลุ่มที่ได้รับกรดอินทรีย์ทั้งสองกลุ่มการทดลอง (กลุ่มที่ 3 และ กลุ่มที่ 4) มีอัตราการย่อยได้สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับเชื้อซัลโมเนลล่าในวันที่ 21 ของการทดลอง (P<0.05) และในวันที่ 42 พบอัตราการย่อยได้ของโปรตีนและไขมันในแต่ละกลุ่มการทดลองให้ผลไม่แตกต่างกัน และพบว่าลักษณะของเยื่อบุลำไส้เล็กมีความสูงของวิลไลมากขึ้น และ ความลึกของคริปที่ลดลงในกลุ่ม SE + (ORAs+ HMTBa) ในวันที่ 14 และ 21 ของการทดลอง และในระยะ grower-finisher เอนไซม์ต้านอนุมูลอิสระ (GSH-px และ GSH) และ MDA ไม่แตกต่างกัน (P>0.05) ในวันที่ 14, 21 และ 42 ในแต่ละกลุ่มการทดลอง จากการศึกษาสรุปได้ว่า การให้กรดอินทรีย์รวมที่มี 2-Hydroxy-4-Methylthio Butanoic acid (HMTBa) ร่วมกับกรดฟอร์มิก และ กรดโพรพิโอนิค สามารถป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อซัลโมเนลล่าที่ตับ-ม้าม และ บริเวณลำไส้ส่วนปลายโดยให้ประสิทธิภาพในการลดจำนวนเชื้อได้ดีกว่าการใช้กรดฟอร์มิกร่วมกับกรดโพรพิโอนิค นอกจากนี้การให้กรดอินทรีย์รวม (กรดฟอร์มิก, กรดโพรพิโอนิค และ HMTBa) ใน 14 วันแรกช่วยให้การย่อยของโปรตีนและไขมันดีขึ้นในไก่อายุ 21 วัน และพบว่าการให้กรดอินทรีย์รวมไม่มีผลต่อเอนไซม์ต้านออกซิเดชั่น และการลดลงของ MDA บริเวณตับ และพบว่ามีผลไม่มากต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเยื่อบุลำไส้เล็กส่วนต่างๆ |
en |
dc.format.extent |
1120718 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
en |
es |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1144 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en |
dc.subject |
Broilers (Poultry) |
en |
dc.subject |
Salmonella |
en |
dc.subject |
Organic acids |
en |
dc.title |
Effects of mixed organic acids on intestinal function and antioxidant activity of broiler challenge with salmonella enterica serovar enteritidis |
en |
dc.title.alternative |
ผลของกรดอินทรีย์รวมต่อการทำงานของลำไส้ และการต้านอนุมูลอิสระในไก่เนื้อที่ได้รับเชื้อซัลโมเนลล่า เอนเทอริกา ซีโรวาร์ เอนเทอริติดิส |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
Master of Science |
es |
dc.degree.level |
Master's Degree |
es |
dc.degree.discipline |
Animal Physiology |
es |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en |
dc.email.advisor |
Kris.A@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Indhira.K@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2010.1144 |
|