dc.contributor.advisor |
Prawit Janwantanakul |
|
dc.contributor.advisor |
Praneet Pensri |
|
dc.contributor.author |
Annop Sooksawat |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2013-06-10T08:34:12Z |
|
dc.date.available |
2013-06-10T08:34:12Z |
|
dc.date.issued |
2011 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32130 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 |
en |
dc.description.abstract |
The purpose of this study was to examine the relationship between the religious beliefs and practices of Buddhism and disability and psychological stress in office workers with chronic LBP. A cross-sectional survey was conducted with a self-administered questionnaire delivered by hand to 475 office workers with chronic LBP. Saliva samples were collected from a randomly selected sub-sample of respondents. Two hierarchical regression models were built to determine how much variance in disability and psychological stress could be explained by religious beliefs and practices of Buddhism variables after controlling for potential confounders variables.
Participating office workers with chronic LBP had low disability level. Only 3% of variance in disability and 7% of variance in psychological stress was accounted for by the religious beliefs and practices of Buddhism. Those who engaged in Buddhist lifestyles experienced greater disability but had lower psychological stress. Depressive symptoms were attributed to both psychological stress and disability status in our study population. It is hypothesised that high disability due to LBP prompts individuals to increase the frequency of their religious behavior, which in turn leads to lower psychological stress. Depression may be a mediator of the effect of psychological stress on disability in patients with chronic LBP. More research is needed to investigate the long-term effect of reduced psychological stress on disability level in chronic pain patients. |
en |
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนากับระดับภาวะทุพพลภาพและระดับความเครียดในพนักงานสำนักงานที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง การศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) โดยการแจกแบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง ให้กับพนักงานสำนักงานที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง จำนวน 475 คน ร่วมกับการสุ่มตรวจน้ำลายในกลุ่มผู้เข้าร่วมงานวิจัยเพื่อหาระดับความเครียด ในการศึกษานี้ ใช้แบบจำลองการวิเคราะห์ความถดถอยแบบเชิงชั้น (Hierarchical regression models) สำหรับทดสอบการเปลี่ยนแปลงของระดับภาวะทุพพลภาพและระดับความเครียด ที่สามารถอธิบายโดยความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาหลังจากการควบคุมปัจจัยร่วมที่ส่งผลต่อภาวะทุพพลภาพและระดับความเครียด
ผลการศึกษาพบว่า พนักงานสำนักงานที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังที่เข้าร่วมงานวิจัยมีภาวะทุพพลภาพในระดับต่ำ ความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของระดับภาวะทุพพลภาพและระดับความเครียดเท่ากับ 3% และ 7% ตามลำดับ พนักงานสำนักงานที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง และเลือกที่จะปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันโดยยึดหลักพุทธศาสนา จะมีภาวะทุพพลภาพในระดับสูง แต่มีความเครียดในระดับต่ำ ภาวะซึมเศร้าเป็นตัวแปรที่สามารถอธิบายได้ทั้งระดับภาวะทุพพลภาพและความเครียด ดังนั้น สมมติฐานที่เป็นไปได้คือ ผู้ที่มีภาวะทุพพลภาพที่เกิดจากอาการปวดหลังในระดับสูง จะเข้าหาพุทธศาสนามากขึ้น จึงส่งผลให้ระดับความเครียดลดลง นอกจากนี้ ภาวะซึมเศร้าอาจเป็นปัจจัยเชื่อมโยงระหว่างความเครียดและภาวะทุพพลภาพในกลุ่มผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาต่อไปเกี่ยวกับผลระยาวของการลดความเครียดต่อระดับทุพพลภาพในผู้ป่วยที่มีอาการปวดเรื้อรัง |
en |
dc.format.extent |
1250740 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
en |
es |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1344 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en |
dc.subject |
Faith (Buddhism) -- Physiological aspects |
en |
dc.subject |
Faith (Buddhism) -- Health aspects |
en |
dc.subject |
Buddhism -- Customs and practices |
en |
dc.subject |
Employees -- Health aspects |
en |
dc.subject |
Industrial hygiene |
en |
dc.subject |
People with disabilities |
en |
dc.subject |
Backache |
en |
dc.subject |
Chronic pain |
en |
dc.subject |
ศรัทธา (พุทธศาสนา) -- แง่สรีรวิทยา |
en |
dc.subject |
ศรัทธา (พุทธศาสนา) -- แง่อนามัย |
en |
dc.subject |
พุทธศาสนา -- กฎและการปฏิบัติ |
en |
dc.subject |
ลูกจ้าง -- แง่อนามัย |
en |
dc.subject |
อาชีวอนามัย |
en |
dc.subject |
คนพิการ |
en |
dc.subject |
ปวดหลัง |
en |
dc.subject |
อาการปวดเรื้อรัง |
en |
dc.title |
The effect of religious beliefs and practice of buddhism on disability in office workers with chronic low back pain |
en |
dc.title.alternative |
ผลของความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาต่อภาวะทุพพลภาพในพนักงานสำนักงานที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
Master of Science |
es |
dc.degree.level |
Master's Degree |
es |
dc.degree.discipline |
Physical Therapy |
es |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en |
dc.email.advisor |
prawit.j@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Praneet.p@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2011.1344 |
|