DSpace Repository

การเกิดแคลเซียมฟอสเฟตบนพื้นผิวคอมเมอร์เชียลลีเพียวไทเทเนียมที่ผ่านการอะโนไดซ์ในสารละลายสิมูเลตเต็ด บอดีฟลูอิด

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิริทธิ์พล ศรีมณีพงศ์
dc.contributor.author บุศรินทร์ ล๊อกตระกูล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2013-06-17T13:57:44Z
dc.date.available 2013-06-17T13:57:44Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32220
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 en
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ศึกษาในโลหะคอมเมอร์เชียลลีย์เพียวไททาเนียมเกรด 2 ที่ไม่ผ่านและผ่านกระบวนการแอโนไดเซชันในสารละลาย 2 ชนิด คือ กรดฟอสฟอริก และโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่ความต่างศักย์ 200 และ 20 โวลต์ตามลำดับ เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นนำชิ้นงานทั้งหมดไปแช่ในสารละลายสิมูเลตเต็ด บอดีฟลูอิด เป็นเวลา 7 14 และ 28 วัน ตามลำดับ ทำการศึกษาลักษณะและโครงสร้างผลึกของชั้นออกไซด์และวิเคราะห์ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ ด้วยเครื่องมือวิเคราะห์ทดสอบชนิดส่วนประกอบบนผิวโลหะ ก่อนและหลังแช่ในสารละลายสิมูเลตเต็ด บอดีฟลูอิด ผลการศึกษาพบว่าหลังจากทำการแอโนไดเซชั่นในกรดฟอสฟอริก พื้นผิวที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นรูพรุนสม่ำเสมอทั่วพื้นผิวและมีโครงสร้างผลึกเป็นชนิด อะนาเทส ในขณะที่พื้นผิว ที่แอโนไดเซชันในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์มีลักษณะเป็นพื้นผิวนูนสลับกับผิวเรียบและมีโครงสร้างผลึกเป็นชนิดรูไทล์ หลังแช่ชิ้นงานในสารละลายสิมูเลตเต็ด บอดีฟลูอิด พบว่ามีเพียงไทเทเนียมที่ผ่านการแอโนไดเซชันในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์แล้วแช่ในสารละลายเป็นเวลา 28 วันเท่านั้น ที่มีการสร้างแคลเซียมฟอสเฟตขึ้นบนพื้นผิว โครงสร้างผลึกบนพื้นผิวไทเทเนียมอาจจะมีผลกับการเกิดผลึกแคลเซียมฟอสเฟต ในสารละลาย สิมูเลตเต็ด บอดีฟลูอิด en_US
dc.description.abstractalternative Objective: To investigate the surface characteristics of microarc oxidized commercially pure titanium plates prepared in different electrolyte solutions and the relationship between their surface properties and calcium phosphate formation when immersed in simulated body fluid (SBF). Materials and Methods: Cp Titanium plates were anodized in H₃PO₄ or NaOH solution. Potentiostatic anodization was performed with a potential of 200 V or 20 V in H₃PO₄ or NaOH electrolyte solutions, respectively, for 30 minutes at room temperature. All anodized titanium specimens were immersed in SBF for 7, 14, and 28 days at 36.5℃, pH 7.4. Analysis by X-ray diffraction (XRD), scanning electron microscope, and EDS were used to investigate the surface characteristics of the anodized titanium before and after immersion in SBF. Results: After anodic oxidation, an anatase crystalline structure was found on titanium anodized in H₃PO₄, but a rutile crystalline structure was observed on titanium anodized in NaOH. After immersion in SBF, only titanium prepared in NaOH and soaked in SBF for 28 days showed calcium phosphate formation. However, no calcium phosphate formation was observed in any groups of titanium specimens anodized in H₃PO₄.Conclusion: The crystalline structure of a titanium surface can influence the ability of calcium phosphate formation in simulated body fluid. en_US
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1464
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ไทเทเนียม en_US
dc.subject สารยึดติดทางทันตกรรม en_US
dc.subject พื้นผิววัสดุ (เทคโนโลยี) en_US
dc.subject Titanium en_US
dc.subject Dental adhesives en_US
dc.subject Surfaces (Technology) en_US
dc.title การเกิดแคลเซียมฟอสเฟตบนพื้นผิวคอมเมอร์เชียลลีเพียวไทเทเนียมที่ผ่านการอะโนไดซ์ในสารละลายสิมูเลตเต็ด บอดีฟลูอิด en_US
dc.title.alternative Calcium phosphate formation on microarc oxidized commercially pure titanium in simulated body fluid solution en_US
dc.type Thesis es
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline ทันตกรรมประดิษฐ์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Viritpon.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.1464


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record