DSpace Repository

การเตรียมไฮโดรเจลจากการครอสลิงค์เมทิลไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลสร่วมกับกรดมาเลอิกโดยการฉายรังสีแกมมา

Show simple item record

dc.contributor.advisor ดุลยพงศ์ วงศ์แสวง
dc.contributor.advisor ปรารถนา คิ้วสุวรรณ
dc.contributor.author อาภาวรรณ์ สท้านธรนิล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2013-06-28T08:40:51Z
dc.date.available 2013-06-28T08:40:51Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32568
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 en_US
dc.description.abstract ไฮโดรเจล (hydrogel) คือ พอลิเมอร์ชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้างเป็นตาข่ายมีลักษณะเป็นเจลสามารถนำมาใช้ประโยชน์เป็นวัสดุชีวภาพโดยเฉพาะการนำไปใช้ในด้านเกษตรกรรม เนื่องจากมีคุณสมบัติในการดูดซับน้ำได้ศึกษาการเตรียมไฮโดรเจลจากการครอสลิงค์เมทิลไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลสร่วมกับกรดมาเลอิกโดยการฉายรังสีแกมมา ทำการทดลองโดยนำเมทิลไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลสมาผสมกับกรดมาเลอิกในอัตราส่วนที่ต่างกัน จากนั้นนำมาฉายรังสีแกมมาที่ 8, 10, 15, 20, 25, 30, 35และ 40 kGy ในการทดลองได้ใช้เงื่อนไขต่างๆในการเตรียม เช่น ปริมาณรังสี ความเข้มข้นของเมทิลไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลสและกรดมาเลอิก ทำการทดสอบประสิทธิภาพของไฮโดรเจลโดยทดสอบร้อยละการบวมน้ำ (gel swelling) การหาร้อยละการเป็นเจล (gel fraction) การทดสอบความต้านแรงดึง (tensile strength) การทดสอบความต้านแรงกด (gel strength) และทดสอบไฮโดรเจลที่เตรียมได้ด้วยฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (FTIR) เมื่อสารละลายเมทิลไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลสดูดกลืนรังสีแกมมาจะเกิดโครงร่างแหได้วัสดุที่สามารถดูดน้ำได้ถึง 100-1000% โดยน้ำหนัก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการเตรียม ความหนาแน่นของการเกิดการเชื่อมโยงเป็นตัวแปลหลักในการบวมน้ำของเจล จากการศึกษาการบวมน้ำของไฮโดรเจล พบว่าการบวมน้ำลดลงตามปริมาณรังสีที่เพิ่มมากขึ้น การเกิดเจลสูงเพิ่มขึ้นตามปริมาณรังสีที่เพิ่มขึ้น และอัตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดในการเตรียมไฮโดรเจลคือ 15%MHEC:0.5%MA (w/v) ที่ปริมาณรังสี 15 kGy en_US
dc.description.abstractalternative Hydrogel is a type of polymer exhibiting a 3D network structure. Hydrogel can be used in agriculture because of the water-absorbing capability. Studies were made on hydrogel preparation by crosslinking of methyl hydroxy ethyl cellulose (MHEC) withmaleic acid (MA) by gamma irradiation. Different ratios of methyl hydroxy ethyl cellulose and maleic acid were investigated with gamma radiation dose of 8, 10, 15, 20, 25, 30, 35 and 40 kGy. Different parameters were varied for hydrogel synthesis such as radiation dose and concentrations of methyl hydroxy ethyl cellulose and maleic acid.The following properties of hydrogel were evaluated: gel swelling in water, gel fraction, tensile strength, gel strength and analysis of the hydrogel by FTIR spectroscopy. When expressed to gamma radiation MHEC/MA was crosslinked,turning into highwater-absorbing material with water content of as much as 100-1000% by weight, depending on preparation conditions. The crosslink density was the principal factor governing the swelling behavior of hydrogel. Studies on hydrogel swelling revealed that the swelling decreased with increasing radiation dose and that the gel fraction increased with increasing radiation dose. The most suitable condition for hydrogel preparation was 15%MHEC:0.5%MA (w/v) at the dose of 15 kGy. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1696
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ไฮโดรเจล en_US
dc.subject คอลลอยด์ en_US
dc.subject รังสีแกมมา en_US
dc.subject การเชื่อมขวาง (โพลิเมอไรเซชัน) en_US
dc.subject Hydrogels en_US
dc.subject Colloids en_US
dc.subject Gamma rays en_US
dc.subject Crosslinking (Polymerization) en_US
dc.title การเตรียมไฮโดรเจลจากการครอสลิงค์เมทิลไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลสร่วมกับกรดมาเลอิกโดยการฉายรังสีแกมมา en_US
dc.title.alternative Preparation of hydrogel by crosslinking of methyl hydroxy ethyl cellulose with maleic acid by gamma irradiation en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิวเคลียร์เทคโนโลยี en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Doonyapong.W@chula.ac.th
dc.email.author prartanakewsuwan@gmail.com
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.1696


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record