DSpace Repository

Tibiofemoral joint reaction force during stance phase of backward and forward walking at varied speed

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pasakorn Watanatada
dc.contributor.author Nutthapon Zonthichai
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Medicine
dc.date.accessioned 2013-07-01T04:37:48Z
dc.date.available 2013-07-01T04:37:48Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32584
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010 en_US
dc.description.abstract The objective of this study is to measure tibiofemoral joint reaction force (TFJRF) during stance phase of backward and forward walking at varied speed. The participants were 54 healthy Thai male, aged 25.17 + 4.37 years, body mass index 21.15 + 1.75 kg/m². All subjects walked forward and backward on the split-belt treadmill, which could record ground reaction forces (GRF) of each foot, with 5 speeds from slowest to fastest (0.8, 1.0, 1.2, 1.4, 1.6 m/s, respectively). First direction of walking was randomized. Right GRF was used to calculate TFJRF by inverse dynamic model. In each speed of each trial, heart rate and rating of perceived exertion (RPE) were also recorded. The results demonstrate that backward walking produced higher peak TFJRF during stance phase than forward walking in every speed. Subjects had higher heart rate and RPE in every speed when backward walking, as well. However, the average TFJRF were similar in both forward and backward walking during slow speeds (below 1.0 m/s) and lower in backward walking if speed increased more than 1.2 m/s. If compared between backward walking at 1.2 m/s, which was moderate exercise intensity (69.20 + 10.37 %HR max) and forward walking at 1.6 m/s, which was light exercise intensity (58.48 + 8.12 %HR max). The peak TFJRF were similar (135.48 ± 12.75 %BW vs. 136.73 ± 4.63 %BW), and average TFJRF were lower during backward walking (83.53 ± 1.56 %BW vs. 90.66 ± 1.56 %BW). Therefore, backward walking may produce lower TFJRF than forward walking when walk with the same exercise intensity and could be used in exercise prescriptions or rehabilitation programs for ones who have tibiofemoral joint problems. en_US
dc.description.abstractalternative การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาแรงปฏิกิริยาของข้อเข่าในช่วงที่เท้าสัมผัสพื้นขณะเดินถอยหลังและเดินไปข้างหน้าที่ระดับความเร็วต่างๆ ซึ่งชายไทยที่เข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 54 คน มีอายุเฉลี่ย 25.17 + 4.37 ปี มีดัชนีมวลกายเฉลี่ย 21.15 + 1.75 กิโลกรัม/เมตร² โดยแต่ละคนทำการเดินไปข้างหน้าและถอยหลังบนเครื่องสายพานคู่ที่แยกวัดค่า Ground reaction force (GRF) ของเท้าแต่ละข้าง ด้วยความเร็ว 5 ระดับจากช้าไปเร็ว (0.8, 1.0, 1.2, 1.4, 1.6 เมตรต่อวินาที ตามลำดับ) ใช้การสุ่มในการเลือกทิศทางการเดินก่อนและหลัง ค่า GRF ของเท้าข้างขวาจะถูกนำมาคำนวณหาค่าแรงปฏิกิริยาของข้อเข่าในช่วงที่เท้าสัมผัสพื้นด้วยวิธี inverse dynamics ระหว่างทดสอบจะบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจ และค่า rating of perceived exertion (RPE) ในทุกความเร็วด้วย ผลการศึกษาพบว่าการเดินถอยหลังมีค่าแรงปฏิกิริยาของข้อเข่าในช่วงที่เท้าเริ่มสัมผัสพื้นมากกว่าการเดินไปข้างหน้าในทุกความเร็ว และมีอัตราการเต้นของหัวใจกับค่า RPE ที่มากกว่าด้วย แต่ค่าเฉลี่ยของแรงปฏิกิริยาของข้อเข่าตลอดช่วงเวลาที่เท้าสัมผัสพื้นในการเดินถอยหลังมีค่าใกล้เคียงกับการเดินไปข้างหน้าในช่วงความเร็วที่น้อยกว่า 1.0 เมตรต่อวินาที และน้อยกว่าในช่วงความเร็วที่มากกว่า 1.2 เมตรต่อวินาที และหากเปรียบเทียบระหว่างการเดินถอยหลังด้วยความเร็ว 1.2 เมตรต่อวินาที ซึ่งเป็นการออกกำลังกายระดับปานกลาง กับการเดินไปข้างหน้าด้วยความเร็ว 1.6 เมตรต่อวินาที ซึ่งยังคงเป็นการออกกำลังกายระดับเบา พบว่ามีค่าแรงปฏิกิริยาของข้อเข่าในช่วงที่เท้าเริ่มสัมผัสพื้นที่เริ่มใกล้เคียงกัน (135.48 ± 12.75 vs. 136.73 ± 4.63 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว) และการเดินถอยหลังเริ่มมีค่าเฉลี่ยของแรงปฏิกิริยาของข้อเข่าตลอดช่วงเวลาที่เท้าสัมผัสพื้นที่น้อยกว่าแล้ว (83.53 ± 1.56 vs. 90.66 ± 1.56 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว) ดังนั้นจึงชี้ให้เห็นว่าการเดินถอยหลังอาจมีค่าแรงปฏิกิริยาของข้อเข่าในช่วงที่เท้าเริ่มสัมผัสพื้นน้อยกว่าการเดินไปข้างหน้า หากให้เดินด้วยระดับความหนักของการออกกำลังกายที่เท่ากัน ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นทางเลือกในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพได้สำหรับผู้ที่มีปัญหาการบาดเจ็บของข้อ tibiofemoral en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1279
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Tibiofemoral joint en_US
dc.subject Knee -- Movements en_US
dc.subject Knee -- Wounds and injuries en_US
dc.subject Medical rehabilitation en_US
dc.subject ข้อเข่า -- การเคลื่อนไหว en_US
dc.subject ข้อเข่า -- บาดแผลและบาดเจ็บ en_US
dc.subject เวชศาสตร์ฟื้นฟู en_US
dc.title Tibiofemoral joint reaction force during stance phase of backward and forward walking at varied speed en_US
dc.title.alternative แรงปฏิกิริยาของข้อเข่าในช่วงที่เท้าสัมผัสพื้นขณะเดินถอยหลัง และเดินไปข้างหน้าที่ระดับความเร็วต่างๆ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Sports Medicine en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor spmed.chula@gmail.com
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.1279


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record