dc.contributor.advisor |
คัคนางค์ มณีศรี |
|
dc.contributor.author |
กณิกนันต์ ศรีวัลลภ, 2528- |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2013-07-18T08:18:48Z |
|
dc.date.available |
2013-07-18T08:18:48Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33208 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการเห็นคุณค่าในตนเองที่รับรู้ และการเห็นคุณค่าในตนเองโดยนัย ในการทำนายการถูกกีดกันทางสังคมและการรับรู้การถูกกีดกันทางสังคม และ 2) เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลเชิงสาเหตุของการรับรู้การถูกกีดกันทางสังคมและการถูกกีดกันทางสังคมระหว่างกลุ่มที่มีระดับบุคลิกภาพแบบหลงตนเองแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นิสิตปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ลงทะเบียนเรียนในวิชา 3800101 จิตวิทยาทั่วไป ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2553 จำนวน 412 คน เพศชายจำนวน 132 คน และเพศหญิงจำนวน 280 คน กลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มเข้ากลุ่มเพศเดียวกันกลุ่มละ 4 คน เพื่อร่วมกันทำงานในการเหนี่ยวนำความใกล้ชิดทางสัมพันธภาพแล้วตอบมาตรวัดการเห็นคุณค่าในตนเองที่รับรู้ การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย มาตรวัดการรับรู้การถูกกีดกันทางสังคม และมาตรวัดการถูกกีดกันทางสังคม ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรมลิสเรล (LISREL) พบว่า 1) โมเดลเชิงสาเหตุของการรับรู้การถูกกีดกันทางสังคมและการถูกกีดกันทางสังคมมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Chi-square = 13.32; df = 8; p = .101; RMSEA = .08) โดยการเห็นคุณค่าในตนเองที่รับรู้มีอิทธิพลทางลบต่อการรับรู้การถูกกีดกันทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2) บุคลิกภาพแบบหลงตนเองเป็นตัวแปรกำกับอิทธิพลเชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรการเห็นคุณค่าในตนเองโดยนัยต่อการถูกกีดกันทางสังคม |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to study effects of explicit and implicit self-esteem on social exclusion and perceived social exclusion, and to examine the moderating effect of narcissism on the association between self-esteem and social exclusion. Four hundred and twelve undergraduate students, 132 males and 280 females, were randomly assigned into same-sex groups of four. They were given the relationship closeness induction task and completed measures of explicit self-esteem, implicit self-esteem, perceived social exclusion scale, and social exclusion scale. Structural equation model (LISREL) reveals that: 1. The causal model of perceived social exclusion and social exclusion is best fitted to the empirical data (Chi-square = 13.32; df = 8; p = .101; RMSEA = .08). Of all independent variables, only explicit self-esteem affects perceived social exclusion (p < .001). 2. Narcissism moderates the relationship between implicit self-esteem and social exclusion. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1393 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ความนับถือตนเอง |
en_US |
dc.subject |
การหลงตนเอง |
en_US |
dc.subject |
Self-esteem |
en_US |
dc.subject |
Narcissism |
en_US |
dc.title |
อิทธิพลของการเห็นคุณค่าในตนเองที่รับรู้ และการเห็นคุณค่าในตนเองโดยนัยต่อการถูกกีดกันทางสังคมและการรับรู้การถูกกีดกันทางสังคมโดยมีความหลงตนเองเป็นตัวแปรกำกับ : การศึกษาตามแนวทฤษฎีมาตรทางสังคม |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of explicit and implicit self-esteem on social exclusion and perceived social exclusion with narcissism as moderator : a study focused on sociometer theory |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาสังคม |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
kakanang.m@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2010.1393 |
|