DSpace Repository

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับโรคฟันผุในเด็กอายุ 12-18 เดือน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชุติมา ไตรรัตน์วรกุล
dc.contributor.author ธาดารัตน์ รุ่งหิรัญวัฒน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2013-08-02T11:02:19Z
dc.date.available 2013-08-02T11:02:19Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33811
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 en_US
dc.description.abstract โรคฟันผุในเด็กเป็นปัญหาสาคัญของประเทศไทย เนื่องจากเด็กไม่สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ ผู้ปกครองจึงมีบทบาทสาคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากให้แก่เด็ก การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่สัมพันธ์กับสภาวะโรคฟันผุในเด็กอายุ 12-18 เดือน ที่คลินิกเด็กดี โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี จำนวน 330 คน โดยการสัมภาษณ์แบบสอบถามผู้ปกครอง และการตรวจช่องปากเด็ก ใช้สถิติ Pearson chi-square หรือ Fisher’s exact test, Mann-Whitney U test หรือ Kruskal-Wallis test และ Binary logistic regression พบว่าโรคฟันผุสัมพันธ์กับปริมาณคราบจุลินทรีย์สูง รายได้ครอบครัวต่ำ และระดับการศึกษาต่ำของผู้ปกครองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ แต่ความถี่ของการทำความสะอาดช่องปาก ไม่สัมพันธ์กับปริมาณคราบจุลินทรีย์และสภาวะโรคฟันผุที่ตรวจพบ สรุปว่าปริมาณคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก รายได้ครอบครัว และระดับการศึกษาของผู้ปกครองสัมพันธ์กับสภาวะโรคฟันผุในเด็กอายุ 12-18 เดือน ดังนั้นจึงควรเน้นการให้ความรู้และส่งเสริมให้ผู้ปกครองที่มีการศึกษาและรายได้ต่ำ ทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างถูกวิธีตั้งแต่เด็กมีฟันน้านมขึ้นเพียงไม่กี่ซี่ เพื่อจะสามารถป้องกันการเกิดโรคฟันผุในเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป en_US
dc.description.abstractalternative Dental caries in childhood is an important public health problem in Thailand. Children cannot care their oral hygiene, so their parents must take their responsibility. This cross-sectional analysis study’s objective is for finding factors relate to dental caries in 330 children aged 12-18 months at Well Baby Clinic, Prapokklao hospital, Chantaburi by parental questionnaire and children’s oral examination. All data was analysed by Pearson chi-square or Fisher’s exact test, Mann-Whitney U test or Kruskal-Wallis test and binary logistic regression. The result is dental caries significantly relates to high plaque index, low socioeconomic status and low parental education but frequency of oral cleaning doesn’t significantly relate to plaque index and dental caries status in children aged 12-18 months. In summary, plaque index, socioeconomic status and parental education relates to dental caries in children. So we should promote parents to clean their children’s oral cavity correctly since they has few teeth. It can effectively prevent dental caries in the future. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1451
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ฟันผุในเด็ก en_US
dc.subject เด็ก -- การดูแลทันตสุขภาพ en_US
dc.subject Dental caries in children en_US
dc.subject Children -- Dental care en_US
dc.title ปัจจัยที่สัมพันธ์กับโรคฟันผุในเด็กอายุ 12-18 เดือน en_US
dc.title.alternative Factors related with dental caries in children aged 12-18 months en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ทันตกรรมสำหรับเด็ก en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Chutima.T@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.1451


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record