DSpace Repository

Household waste disposal : knowledge, perception, practices, and relationship with diarrhea frequency in Laputta Township in Myanmar

Show simple item record

dc.contributor.advisor Chapman, Robert Sedgwick
dc.contributor.author Ye Paing Kyi
dc.contributor.other Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
dc.coverage.spatial Burma
dc.date.accessioned 2013-10-26T07:20:54Z
dc.date.available 2013-10-26T07:20:54Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36395
dc.description Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2010 en_US
dc.description.abstract A cross-sectional study was done in Yay Twin Seik Village Tract in Laputta Township, Myanmar, in March, 2011. The main objectives of this study were to assess the level of knowledge, perception and practices on household waste disposal; and to find out the association between socio-demographic, household characteristics, level of knowledge and perception with level of practices on household waste disposal associated with diarrhea frequency in Laputta residents. This study was carried out with 389 subjects by using a structured interviewer-administrated questionnaire to acquire data, with ethical review protocol no. 031.1/54 which was approved on 24th March, 2011. To find out the association between independent variables, socio-demographic and household characteristics; and practice on household waste disposal, the one-way analysis of variance (ANOVA) test was used. Chi-square tests were done to assess the associations between socio-demographic and household characteristics with diarrhea; knowledge and perception towards household waste disposal with practice on household waste disposal as well as with diarrhea occurrence. The overall diarrhea occurrence was 19.5%. Among respondents, 78.1% had high level of knowledge while 21.1% had moderate level of knowledge. For perception towards household waste disposal, 50.4% of respondents had high-level perception and 48.1% had moderate level of perception. Practice on household waste disposal differed significantly with drinking water source (<0.001), number of trash bin (p=0.032), trash bins with wide lids (p=0.01), emptying of trash bins (p=0.008), kitchen waste (p=0.017) and perception towards household waste disposal (<0.001). The households which used pond water and rain water had higher practice score; the more the number of the trash bins, the higher the practice score; the use of trash bins with wide lids was linked to the higher practice score; and the more frequent they emptied trash bins, the more practice score they had. Indoor latrine (OR=2.38; 95% CI: 1.02-5.49) and number of children under 5 (OR=2.09; 95% CI: 1.08-4.04) were risk factors for diarrhea while trash bins with narrow lids (OR=0.30, 95% CI: 0.16-0.59) were protective against diarrhea. This study provides baseline data regarding household waste disposal for further studies. The result can also inform policy makers to develop strategy and planning to improve household waste disposal and to reduce diarrhea occurrence. Further research on determinants of waste disposal practices and diarrhea occurrence is needed in Laputta and elsewhere. en_US
dc.description.abstractalternative การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้ได้ดำเนินการในหมู่บ้าน เย ทวิน เสก เมืองลาพุตตา ประเทศพม่า ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความรู้ การรับรู้ และการปฏิบัติในการกำจัดของเสียของครัวเรือน รวมทั้งเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรสังคม ลักษณะครัวเรือน ระดับความรู้ การรับรู้และการปฏิบัติในการกำจัดของเสียของครัวเรือนกับความถี่ของการเกิดโรคอุจจาระร่วงในประชาชนเมืองลาพุตตา ประเทศพม่า กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 389 คน ใช้แบบสอบถามแบบมีโครงสร้างโดยผู้สัมภาษณ์เป็นผู้กรอกแบบสอบถาม สถิติ ANOVA ใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้น ได้แก่ ลักษณะทางประชากรสังคมและลักษณะครัวเรือน กับการปฏิบัติในการกำจัดของเสียของครัวเรือน สำหรับการทดสอบ chi-square ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะทางสังคมประชากร และครัวเรือนที่มีการเกิดโรคอุจจาระร่วง กับความรู้และการรับรู้ในการกำจัดของเสียกับการปฏิบัติในการกำจัดของเสียของครัวเรือน เช่นเดียวกับความรู้และการรับรู้ของการเกิดโรคอุจจาระร่วง ผลการศึกษาในภาพรวมพบว่ามีโรคอุจจาระร่วงเกิดขึ้น 19.5% โดยกลุ่มตัวอย่าง 78.1% มีความรู้อยู่ในระดับสูง และ 21.1% อยู่ในระดับปานกลาง สำหรับการรับรู้ในการกำจัดของเสียของครัวเรือนพบว่า 50.4% ของกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้อยู่ในระดับสูง และ 48.1% อยู่ในระดับปานกลาง การปฏิบัติในการกำจัดของเสียครัวเรือนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบแหล่งน้ำดื่ม (p<0.001) จำนวนถังขยะ (p=0.032) ถังขยะแบบมีฝาปิด (p=0.01) ถังขยะเปล่า (p=0.008) ขยะจากห้องครัว (p=0.017) และการรับรู้ต่อการกำจัดขยะในครัวเรือน (p<0.001) กล่าวคือ ครัวเรือนที่ใช้แหล่งน้ำดื่มจากบ่อน้ำและน้ำฝนมีการปฏิบัติในการกำจัดของเสียครัวเรือนสูง ครัวเรือนที่มีจำนวนถังขยะมากมีการปฏิบัติในการกำจัดของเสียครัวเรือนสูง ครัวเรือนที่มีถังขยะแบบมีฝาปิดและการมีความถี่ในการทิ้งขยะมากมีการปฏิบัติในการกำจัดของเสียครัวเรือนสูง การใช้ส้วมในบ้าน (OR=2.38; 95% CI: 1.02-5.49) และจำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี (OR=2.09; 95% CI: 1.08-4.04) ส่วนการใช้ถังขยะแบบมีฝาปิดสามารถป้องกันโรคอุจจาระร่วงได้ (OR=0.30, 95% CI: 0.16-0.59) การศึกษาครั้งนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการกำจัดของเสียในครัวเรือน เพื่อประโยชน์สำหรับการศึกษาวิจัยต่อไป ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงความสำคัญในการกำหนดยุทธศาสตร์และการวางแผนของผู้กำหนดนโยบาย เพื่อปรับปรุงวิธีการกำจัดของเสียของครัวเรือน และลดการเกิดโรคอุจจาระร่วงในเมืองลาพุตตา ประเทศพม่า en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.892
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Diarrhea -- Burma en_US
dc.subject Waste disposal -- Burma en_US
dc.subject ท้องร่วง -- พม่า en_US
dc.subject การกำจัดของเสีย -- พม่า en_US
dc.title Household waste disposal : knowledge, perception, practices, and relationship with diarrhea frequency in Laputta Township in Myanmar en_US
dc.title.alternative ความรู้, การยอมรับและการปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการทิ้งขยะในครัวเรือน และความถี่ของการเกิดโรคท้องเสียในเมืองลาพูทา ประเทศพม่า en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Public Health en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Public Health en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Robert.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.892


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record