DSpace Repository

การพัฒนาระบบการตรวจติดตามความขรุขระผิวบนเครื่องกลึงซีเอ็นซี

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญ
dc.contributor.author ศิริพงษ์ ดำรงทวีศักดิ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2013-12-20T04:35:08Z
dc.date.available 2013-12-20T04:35:08Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37580
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาระบบการตรวจติดตามร่วมกับการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ(SPC)สำหรับค่าความขรุขระผิวชิ้นงานบนเครื่องกลึงซีเอ็นซี โดยใช้อัตราส่วนแรงตัดระหว่างแรงป้อนตัดและแรงตัดหลัก ในการพยากรณ์ค่าความขรุขระผิวชิ้นงาน โดยสมการพยากรณ์ค่าความขรุขระผิวชิ้นงานประกอบด้วยปัจจัยในการตัด ได้แก่ ความเร็วตัด, อัตราการป้อนตัด, ความลึกตัด, รัศมีจมูกมีด, มุมคายเศษโลหะ และอัตราส่วนแรงตัด ค่าความขรุขระผิวชิ้นงานที่พยากรณ์ได้จะถูกควบคุมด้วยกระบวนการเชิงสถิติ(SPC) จากผลการทดลองในงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจจับผิวชิ้นงานที่ไม่ได้คุณภาพในระหว่างกระบวนการตัดได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยอ้างอิงจากค่าขีดจำกัดควบคุมบน(UCL) ซึ่งระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถแจ้งเตือนเมื่อความขรุขระผิวชิ้นงานอยู่นอกเหนือขีดจำกัดควบคุมบนเพื่อลดของเสียที่เกิดขึ้นในขณะตัดจริงและปรับเปลี่ยนเงื่อนไขการตัดใหม่ en_US
dc.description.abstractalternative This research aims to integrate the in-process monitoring system and the statistical process control (SPC) in order to control the machined surface finish on CNC turning machine. The ratio between the feed force (Fy) and the main force (Fz) is used to predict the in-process surface roughness. The surface roughness models are comprised of the cutting speed, the feed rate, the depth of cut, the tool nose radius, the rake angle and the cutting force ratio. The SPC is vitally used to control the predicted surface roughness during the cutting. According to the experimental results, the integrated monitoring and SPC system is efficiently used to predict and control the in-process surface roughness by using the Upper Control Limit (UCL) to detect the surface roughness which is out of control limit. An alarm system of the out-of-process control can help to reduce the rejects during the cutting and the cutting parameters will be adjusted immediately. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1151
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การตัดวัสดุด้วยเครื่องกล en_US
dc.subject เครื่องกลึง en_US
dc.subject ความหยาบผิว en_US
dc.subject Machining en_US
dc.subject Lathes en_US
dc.subject Surface roughness en_US
dc.title การพัฒนาระบบการตรวจติดตามความขรุขระผิวบนเครื่องกลึงซีเอ็นซี en_US
dc.title.alternative Development of in-process monitoring system of surface roughness on CNC turning machine en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิศวกรรมอุตสาหการ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Somkiat.T@eng.chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.1151


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record