DSpace Repository

Study of physical activity and energy expenditure in obese and non-obese Thai children in Bangkok Metropolis

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sompol Sanguanrungsirikul
dc.contributor.advisor Juraiporn Somboonwong
dc.contributor.author Chirapa Nakhanakhup
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Medicine
dc.date.accessioned 2007-08-29T07:57:30Z
dc.date.available 2007-08-29T07:57:30Z
dc.date.issued 1999
dc.identifier.isbn 9743344268
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3926
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1999 en
dc.description.abstract The objective of this study was to assess the physical activity and energy expenditure in a total of 47 Thai children in Bangkok, aged 9-12 years consisting of 21 obese and 26 nonobese children. Anthropometric and body composition measurements were performed. Energy expenditure was determined by indirect calorimetry based on oxygen consumption. Physical activity was assessed using heart rate monitoring method and physical activity index was calculated by the ratio of total energy expenditure to sedentary energy expenditure. The results showed that weight, body mass index, relative weight, per cent body fat, fat mass, as well as activity energy expenditure (AEE), sedentary energy expenditure (TEE) were significantly higher (p<0.01) in the obese children when compared to the nonobese group. The mean values of respiratory quotient (RQ) were 0.91+-0.06 in obese and 0.89 in nonobese group, respectively, indicating the contribution of carbohydrate substrateto energy production. Both obese and nonobese children were similar in physical activity level of 1.48+-0.17 and 1.51+-0.22, respectively, which were lower than that recommended by the World Health Organization (1.7). It is concluded that this group of obese and nonobese children had low level of physical activity and high carbohydrate intake might increase the risk of obesity at the later age. To prevent obesity in children, programming of exercise and activities as well as nutritional education should be emphasized for school children and parents en
dc.description.abstractalternative การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายและการใช้พลังงานในเด็กไทยที่อ้วนและไม่อ้วนในกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 47 ราย ที่มีอายุระหว่าง 9-12 ปี เป็นเด็กอ้วน 21 รายและเด็กไม่อ้วน 26 ราย ทำการวัดขนาดสัดส่วนของร่างกาย ประเมินการใช้พลังงานของร่างกายทางอ้อมโดยการวัดอัตราการใช้ออกซิเจนของร่างกาย ประเมินกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยบันทึกอัตราการบีบตัวของหัวใจด้วยอุปกรณ์ติดตามบันทึกอัตราการบีบตัวของหัวใจและคำนวณระดับการมีกิจกรรมของร่างกายจากอัตราส่วนระหว่างการใช้พลังงานของร่างกายทั้งหมดต่อการใช้พลังงานของร่างกายขณะพัก ผลการศึกษาพบว่า เด็กอ้วนมีน้ำหนัก ดัชนีมวลกายร้อยละของน้ำหนักต่อส่วนสูง ความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง ร้อยละของไขมันในร่างกาย มวลไขมันในร่างกายและอัตราการใช้พลังงานรวมของร่างกายทั้งขณะพักและขณะมีกิจกรรมมากกว่าเด็กไม่อ้วนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) อัตราส่วนระหว่างประมาตรของคาร์บอนไดออกไซด์ที่ขับออกต่อปริมาตรของออกซิเจนที่ใช้ไป เท่ากับ 0.91+-0.06 ในเด็กอ้วน และ 0.89+-0.08 ในเด็กไม่อ้วน แสดงว่าเด็กทั้งสองกลุ่มมีการบริโภคอาหารในสัดส่วนที่เป็นคาร์โบไฮเดรทสูง ระดับการมีกิจกรรมของร่างกายในเด็กอ้วนและเด็กไม่อ้วน เท่ากับ 1.48+-0.17 และ 1.51+-0.22 ตามลำดับ ซึ่งต่ำกว่าค่าที่องค์การอนามัยโลกกำหนดคือ 1.7 จากผลการวิจัยสรุปว่า เด็กอ้วนและเด็กไม่อ้วนไม่กลุ่มนี้ มีระดับกิจกรรมของร่างกายที่ลดลงและบริโภคอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรทสูง ซึ่งอาจเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนเพิ่มขึ้น การจัดโปรแกรมการออกกำลังกายและการจัดกิจกรรมต่างๆ ควบคู่ไปกับการให้ความรู้ทางโภชนาการที่เหมาะสมให้แก่เด็กวัยเรียนและผู้ปกครอง จะช่วยในการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก en
dc.format.extent 6890958 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en en
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Exercise en
dc.subject Obesity en
dc.subject Energy metabolism in children en
dc.title Study of physical activity and energy expenditure in obese and non-obese Thai children in Bangkok Metropolis en
dc.title.alternative การศึกษากิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายและการใช้พลังงานระหว่างเด็กไทยที่อ้วนและไม่อ้วนในกรุงเทพมหานคร en
dc.type Thesis en
dc.degree.name Master of Science en
dc.degree.level Master's Degree en
dc.degree.discipline Sports Medicine en
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor fmedssk@md2.md.chula.ac.th
dc.email.advisor juraisom@hotmail.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record