dc.contributor.advisor |
Pin-chawee Vejjanukroh |
|
dc.contributor.author |
Pises Liawsakul |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2014-03-19T07:52:21Z |
|
dc.date.available |
2014-03-19T07:52:21Z |
|
dc.date.issued |
1999 |
|
dc.identifier.isbn |
9743460047 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41277 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1999 |
en_US |
dc.description.abstract |
Two of 350 lipase producing bacterial strains isolated from soils were selected, name ALP-40.3 and ALP-42.11, and identified biochemically and bacteriologically to possibly be Psuedomomas sp. ALP-40.3 strain grew under optimum conditions, i.e., at 35 °C and wide pH range 6-10. ALP-42.11 grew optimally in lower temperature ranged from 25 °-35 °C and also wide pH range, and a large number of lipases were excreted when 2.5% olive oil was added into the growth medium. Some characteristics of both lipases were summarized as follow: under optimum conditions, i.e., at 45 °C, the highest activity of crude ALP-40.3 lipases was found (702 units/ml), and quite high activity would have maintained in a wide range of temperature from 35 °C-65 °C (328-702 units/ml). At 65 ํC, the highest activity of crude ALP-42.11 lipases was found (561 units/ml), and similar to the first lipase extract, quite high activity of the second lipases extract would have maintained in a wide range of temperature from 15 °-65 °C. It is noted that the effect of pH on activities of both lipase was quite stronger than effect of temperature. The highest activities of ALP-40.3 and ALP-42.11 lipases were found at pH 8 and 9, respectively, however, the activity of them has maintained in pH range 8-9. It is possible to say that they are alkaline lipases. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
แบคทีเรีย 2 สายพันธุ์คัดจากแบคทีเรียที่สร้างไลเปสจำนวนทั้งหมด 350 สายพันธุ์ ซึ่งแยกจากตัวอย่างดิน โดยให้ชื่อสายพันธุ์คัดว่า สายพันธุ์ ALP-40.3 และสายพันธุ์ ALP-42.11 ซึ่งจัดอยู่ในจีนัส Pseudomonas sp. ทั้งคู่ สายพันธุ์ ALP-40.3 เจริญได้ดีในสภาพที่เป็นกรดอ่อนๆ จนเป็นด่าง (ค่าพีเอช 6-10) ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส ส่วนสายพันธุ์ ALP-42.11 กลับเจริญได้ดีในอุณหภูมิไม่สูงมากนัก คือ ตั้งแต่ 25-35 องศาเซลเซียส ถ้าเติมน้ำมันมะกอกลงในอาหารเลี้ยงเชื้อปริมาณร้อยละ 2.5 จะมีผลทำให้สายพันธุ์ ALP-42.11 สร้างเอนไซม์และปล่อยออกนอกเซลล์ในปริมาณสูงมากกว่าปกติ คุณลักษณะบางประการของสารสกัดเบื้องต้นของไลเปสที่สร้างโดยสายพันธุ์คัดทั้งสองมีดังต่อไปนี้ ไลเปสจาก ALP-40.3 จะมีแอคติวิตีสูงสุดคือ 702 หน่วยต่อมิลลิลิตร (มล) เมื่อบ่มไว้ที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส แต่ก็ยังคงแอคติวิตีไว้สูงไม่ลดลงมาก (328-702 หน่วยต่อมล.) เมื่อบ่งเชื้อไว้ในช่วง 35-65 องศาเซลเซียส ส่วนไลเปสจาก ALP-42.11 นั้นจะมีแอคติวิตีสูงสุดคือ 561 หน่วยต่อมล. ณ อุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส แต่แอคติวิตีของไลเปสจากสายพันธุ์คัดนี้จะคงแอคติวิตีได้ในช่วงอุณหภูมิที่กว้างกว่าสายพันธุ์คัดแรกคือ 188 ถึง 561 หน่วยต่อมล. ในช่วงอุณหภูมิตั้งแต่ 15-65 องศาเซลเซียส และแอคติวิตีของไลเปสจากสายพันธุ์คัดทั้งสองจะลดลงอย่างรวดเร็วเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 65 องศาเซลเซียส เป็นที่น่าสังเกตว่าค่าพีเอชมีผลต่อแอคติวิตีของไลเปสทั้งสองนี้มากแอคติวิตีสูงสุดของสายพันธุ์คัดแรก (ALP-40.3) อยู่ที่พีเอช 8 ส่วนสายพันธุ์คัดสอง (ALP-42.11) จะอยู่ที่พีเอช 9 และไลเปสจากทั้งสองสายพันธุ์คงทำงานได้ดีในช่วงพีเอช 8-9 จึงกล่าวได้ว่า เอนไซม์ที่สร้างโดยแบคทีเรียสายพันธุ์คัดทั้งสองเป็นอัลคาไลน์ไลเปส (Alkaline Lipases) หรือไลเปสชอบสภาพเป็นด่าง |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Alkaline lipase |
en_US |
dc.subject |
Soil bacteria |
en_US |
dc.subject |
อัลคาไลน์ไลเปส |
en_US |
dc.subject |
แบคทีเรียดิน |
en_US |
dc.title |
Isolation of alkaline lipase producing soil bacteria |
en_US |
dc.title.alternative |
การแยกแบคทีเรียที่ผลิตอัลคาไลน์ไลเปสจากดิน |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Biotechnology |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Pin-chawee.V@Chula.ac.th |
|