dc.contributor.advisor |
ไชยันต์ ไชยพร |
|
dc.contributor.author |
พงษ์ชัย ตระกูลเฉลิมชัย |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2007-09-18T01:57:04Z |
|
dc.date.available |
2007-09-18T01:57:04Z |
|
dc.date.issued |
2542 |
|
dc.identifier.isbn |
9743344314 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4132 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
en |
dc.description.abstract |
ทำความเข้าใจกับความรักและอำนาจที่มีผลกระทบต่อ การเคลื่อนไหวทางการเมืองของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรักฉันท์หญิง-ชาย ที่เป็นความสัมพันธ์ขั้นพื้นฐานที่เป็นภาพสะท้อน ของการต่อสู้ทางการเมืองในระดับปัจเจกอย่างแท้จริง ซึ่งจะเป็นการวิเคราะห์ตัวบทจากบทละครสุขนาฏกรรมสามเรื่อง ของวิลเลียม เชคสเปียร์ที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายอันได้แก่ เวนิสวาณิช, ตามใจท่าน และหรรษาราตรี โดยเป้าหมายในการวิเคราะห์ครั้งนี้ก็คือ ตัวละครนำฝ่ายหญิงของแต่ละเรื่องที่มีความโดดเด่น ของความเป็นวีรสตรีในแบบฉบับของงานสุขนาฏกรรม ซึ่งมักตกอยู่ในภาวะที่ต้องเผชิญปัญหาที่ยุ่งยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากชายคนรักของเธอเอง จนทำให้พวกหล่อนต้องพยายามต่อสู้กับสิ่งเหล่านั้นด้วยไหวพริบ และความกล้าที่จะแสดงออก ตัวละครกลุ่มนี้จึงเปรียบได้กับปัจเจกชน ที่มีความมุ่งมั่นอันแรงกล้าต่อเจตจำนง (ความรัก) ของแต่ละคนอย่างแท้จริง ทั้งนี้ผลการศึกษาตามกรอบความคิดเรื่องเจตจำนงแห่งอำนาจ [Will to Power] ของเฟรเดอริค นิตเช่ ก็ได้ทำให้ตระหนักว่าความรักและอำนาจ เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงกับเจตจำนงของปัจเจกอย่างเข้มข้น โดยความรัก/อำนาจมิใช่ปัจจัยภายนอกที่เข้ามามีส่วนกำหนดความเป็นไปแก่มนุษย์ แต่เป็นตัวตนของมนุษย์ที่พยายามจะกำหนดคุณค่า หรือทิศทางของความรักและอำนาจให้ผู้อื่นยอมรับ ในตัวตนหรืออัตลักษณ์ทางการเมืองของตนเอง ด้วยเหตุนี้ สังคมการเมืองจึงเต็มไปด้วยการปะทะระหว่างปัจเจกบุคคล เพราะการดำรงอยู่ของมนุษย์ล้วนแต่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อแสวงหาเจตจำนงแห่งความรักและการแสวงอำนาจ เช่น เดียวกับที่มนุษย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยง ความสัมพันธ์ทางการเมืองไปได้นั่นเอง |
en |
dc.description.abstractalternative |
To examine the relation of "love" and "power" in relation to political conflict and action at the individual level in Shakespeare's comedies, namely "The Merchant of Venice", "As You Like It" and "Twelfth Night". The love between man and woman is to be emphasized in this study, particularly, the female characters of each play. They are generally portrayed as model heroines in the comic drama, which presents the problem of the relationship with their lovers. They are forced by the situation to struggle with wisdom and courage to achieve their goals. Theses female characters are regarded as individuals who possess "Will to Love". The interpretation of the texts is based on Nietzsche's idea of "Will to Power". The Nietzsche's idea help illuminates of "lover" and "power" in relation to individual will. It shows that love/power is not external force that determines human action. But love/power is itself the essence of human beings. It evaluates and determines the recfognition of love/power of others toward oneself. In this regard, the political society is the stage of the confrontation and conflict between individuals. As the existence of human beings are aimed towards the search for "Will to Love/Power". Accordingly man cannot avoid politics in a peculiar term |
en |
dc.format.extent |
18908556 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
เชคสเปียร์, วิลเลียม, ค.ศ. 1564-1616 |
en |
dc.subject |
การเมือง -- ปรัชญา -- นวนิยาย |
en |
dc.subject |
สตรีกับการเมือง |
en |
dc.subject |
สตรี -- บทบาท |
en |
dc.title |
ความรัก, อำนาจ และบทบาทของตัวละครสตรี ในงานสุขนาฎกรรมของเชคสเปียร์ : การศึกษาเชิงปรัชญาการเมือง |
en |
dc.title.alternative |
Eros, power and female characters in Shakespear's comedies : a study in political philosophy |
en |
dc.type |
Thesis |
en |
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
en |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en |
dc.degree.discipline |
การปกครอง |
en |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Chaiyand.C@Chula.ac.th |
|