dc.contributor.advisor |
อนุเทพ รังสีพิพัฒน์ |
|
dc.contributor.advisor |
รสมา ภู่สุนทร |
|
dc.contributor.advisor |
วุฒิชัย กลมเกลียว |
|
dc.contributor.author |
เนาวรัตน์ กำภูศิริ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2014-03-19T10:45:54Z |
|
dc.date.available |
2014-03-19T10:45:54Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41452 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en_US |
dc.description.abstract |
การทดลองนี้เพื่อศึกษาพยาธิคลินิกโรคไตส่วนโกลเมอรูลัส ในสุนัขที่ทดลองฉีดเชื้อ Ehrlichia canis โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงของค่าโลหิตวิทยา ค่าชีวเคมีเลือด ค่าการวิเคราะห์ปัสสาวะ ศึกษาความเปลี่ยนแปลงโดยการชันสูตรซาก ทางจุลพยาธิ และศึกษาในระดับกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน โดยใช้สุนัขในกลุ่มฉีดเชื้อจำนวน 5 ตัว และสุนัขกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ฉีดเชื้อจำนวน 2 ตัว จากการทดลองพบว่าหลังจากฉีดเชื้อ 6-12 วัน ซึ่งอยู่เป็นช่วงระยะฟักตัวของเชื้อสามารถเริ่มตรวจพบมอรูลาร์ในไซโตพลาสมของเม็ดเลือดขาวชนิดโมโนไซด์ได้ จากการศึกษาค่าโลหิตวิทยาพบว่าสุนัขกลุ่มที่ทำการฉีดเชื้อพบภาวะ เลือดจางแบบไม่มีการตอบสนองของไขกระดูกในระดับปานกลางถึงรุนแรงและภาวะเกล็ดเลือดต่ำ หลังจากการทดลองพบว่าภาวะเลือดจางมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และจากการศึกษาค่าชีวเคมีเลือดพบภาวะ อัลบูมินในกระแสเลือดต่ำ ในวันที่ 12 หลังฉีดเชื้อและพบตลอดการทดลอง ผลการวิเคราะห์ปัสสาวะพบภาวะสูญเสียโปรตีนในปัสสาวะระยะหนึ่งในระหว่างการติดเชื้อระยะเฉียบพลันโดยพบในวันที่ 12-36 หลังฉีดเชื้อ หลังจากนั้นทำการชันสูตรซากในสุนัขทดลองฉีดเชื้อปรากฏผลดังนี้ สีเยื่อเมือกมีสีซีด ม้ามโต บวมน้ำ ท้องมาน ไตมีสีซีด เนื่องจากภาวะเลือดจาง การศึกษาจุลพยาธิวิทยาของไตพบ การแทรกของ mononuclear cell ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นหย่อมในทุกส่วนของไต ในส่วนโกลเมอรูลัสพบลักษณะ mild proliferative glomerulonephritis, mild membranous glomerulonephritis ผลการย้อมอิมมูนโนฮิสโตเคมีในส่วนโกลเมอรูลัสพบการสะสมของ IgG, IgM และ C3 ปริมาณปานกลางถึงมาก การศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน แสดงให้เห็นว่ามีการบิดเบี้ยวผิดรูป ของหลอดเลือดแดงฝอย และ foot process พบมีการหนาตัวขึ้นของ Bowman’s membrane โดยพบการสะสมของสารทึบแสง (electron-dense) บริเวณใต้เยื่อบุฐาน จากการศึกษาพบว่าการติดเชื้อ E. canis ก่อให้เกิดการอักเสบที่ไตซึ่งมีแนวโน้มว่าเกิดจากการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ข้อมูลจากการศึกษาในครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการวินิจฉัยและศึกษาพยาธิคลินิกโรคไตจากการติดเชื้อ E. canis ต่อไป |
|
dc.description.abstractalternative |
การทดลองนี้เพื่อศึกษาพยาธิคลินิกโรคไตส่วนโกลเมอรูลัส ในสุนัขที่ทดลองฉีดเชื้อ Ehrlichia canis โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงของค่าโลหิตวิทยา ค่าชีวเคมีเลือด ค่าการวิเคราะห์ปัสสาวะ ศึกษาความเปลี่ยนแปลงโดยการชันสูตรซาก ทางจุลพยาธิ และศึกษาในระดับกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน โดยใช้สุนัขในกลุ่มฉีดเชื้อจำนวน 5 ตัว และสุนัขกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ฉีดเชื้อจำนวน 2 ตัว จากการทดลองพบว่าหลังจากฉีดเชื้อ 6-12 วัน ซึ่งอยู่เป็นช่วงระยะฟักตัวของเชื้อสามารถเริ่มตรวจพบมอรูลาร์ในไซโตพลาสมของเม็ดเลือดขาวชนิดโมโนไซด์ได้ จากการศึกษาค่าโลหิตวิทยาพบว่าสุนัขกลุ่มที่ทำการฉีดเชื้อพบภาวะ เลือดจางแบบไม่มีการตอบสนองของไขกระดูกในระดับปานกลางถึงรุนแรงและภาวะเกล็ดเลือดต่ำ หลังจากการทดลองพบว่าภาวะเลือดจางมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และจากการศึกษาค่าชีวเคมีเลือดพบภาวะ อัลบูมินในกระแสเลือดต่ำ ในวันที่ 12 หลังฉีดเชื้อและพบตลอดการทดลอง ผลการวิเคราะห์ปัสสาวะพบภาวะสูญเสียโปรตีนในปัสสาวะระยะหนึ่งในระหว่างการติดเชื้อระยะเฉียบพลันโดยพบในวันที่ 12-36 หลังฉีดเชื้อ หลังจากนั้นทำการชันสูตรซากในสุนัขทดลองฉีดเชื้อปรากฏผลดังนี้ สีเยื่อเมือกมีสีซีด ม้ามโต บวมน้ำ ท้องมาน ไตมีสีซีด เนื่องจากภาวะเลือดจาง การศึกษาจุลพยาธิวิทยาของไตพบ การแทรกของ mononuclear cell ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นหย่อมในทุกส่วนของไต ในส่วนโกลเมอรูลัสพบลักษณะ mild proliferative glomerulonephritis, mild membranous glomerulonephritis ผลการย้อมอิมมูนโนฮิสโตเคมีในส่วนโกลเมอรูลัสพบการสะสมของ IgG, IgM และ C3 ปริมาณปานกลางถึงมาก การศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน แสดงให้เห็นว่ามีการบิดเบี้ยวผิดรูป ของหลอดเลือดแดงฝอย และ foot process พบมีการหนาตัวขึ้นของ Bowman’s membrane โดยพบการสะสมของสารทึบแสง (electron-dense) บริเวณใต้เยื่อบุฐาน จากการศึกษาพบว่าการติดเชื้อ E. canis ก่อให้เกิดการอักเสบที่ไตซึ่งมีแนวโน้มว่าเกิดจากการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ข้อมูลจากการศึกษาในครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการวินิจฉัยและศึกษาพยาธิคลินิกโรคไตจากการติดเชื้อ E. canis ต่อไป |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1668 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
การศึกษาพยาธิคลินิกโรคไตส่วนโกลเมอรูลัส จากการทดลองก่อโรคไมโนไซติกเออร์ลิชิโอซิสในสุนัข |
en_US |
dc.title.alternative |
Clinicopathological Glomerulonephropathy investigation in Experimentally-induced Canine Monocytic Ehrlichiosis |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
พยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.1668 |
|