DSpace Repository

Spillover effects of demand side financing projects on health care utilization in Afghanistan

Show simple item record

dc.contributor.advisor Nopphol Witvorapong
dc.contributor.author Abo Ismael Foshanji
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Economics
dc.coverage.spatial Afghanistan
dc.date.accessioned 2014-03-20T02:27:45Z
dc.date.available 2014-03-20T02:27:45Z
dc.date.issued 2012
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41555
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012 en_US
dc.description.abstract Based on Demand Side Financing programs in Afghanistan in 2009-2011, this study aims to assess the spillover effects of programs in the areas other than targeted areas of institutional delivery and vaccination. Socio economic factors associated with general health care utilization among 6677 women who were older than 18 years old in Afghanistan are explored. The ordered probit model is used for analyzing the relationship between cash incentives, socio economic factors and health care utilization (including self and family utilization). The Demand Side Financing programs end-line survey data set in 2011 is used for analyzing. According to the main findings of this study relationship between the cash incentive programs and health care utilization is positive at 5% significant level. The rationale behind this relationship might be due to relaxation of family income constrains as transportation cost was covered as well as the positive relationship could be due to referral effort by Community Health Worker who received cash incentive from the program too. Women’s education has a positive relationship with health care utilization, along with some other education program like reproductive health and family planning health education programs. Cash incentives are recommended to increase health care utilization at formal facilities and to improve the referral system especially at the primary health care level. en_US
dc.description.abstractalternative บนพื้นฐานของโครงการให้เงินช่วยเหลือเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ในอัฟกานิสถานระหว่างปี 2009 – 2011 วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลกระทบทางอ้อมของโครงการในเขตอื่นที่นอกเหนือจากเขตเป้าหมายของสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการผดุงครรภ์และการฉีดวัคซีน ปัจจัยทางเศรษฐสังคมที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการสาธารณสุขทั่วไปของหญิงทั้งหมด 6,677 รายที่มีอายุมากกว่า 18 ปีที่ถูกสำรวจในอัฟกานิสถาน คำสั่งแบบจำลองโพรบิตถูกใช้สำหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจทางการเงิน ปัจจัยทางเศรษฐสังคมและการใช้บริการสาธารณสุข (ประกอบด้วยการใช้บริการส่วนตัวและครอบครัว) ชุดข้อมูลสำรวจขั้นสุดท้ายของโครงการให้เงินช่วยเหลือเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ในปี 2011 ถูกนำมาใช้สำหรับการวิเคราะห์ ตามที่ปรากฏจากการค้นพบหลักของการศึกษาในครั้งนี้ความสัมพันธ์ระหว่างโครงการแรงจูงใจทางการเงินและการใช้บริการสาธารณสุขมีความสัมพันธ์เชิงบวกที่ระดับ 0.05 อย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งความสมเหตุสมผลของความสัมพันธ์นี้อาจจะเนื่องจากการลดหย่อนของการจำกัดของรายได้ของครอบครัว ต้นทุนคมนาคมหรือการเดินทางที่ถูกครอบคลุมด้วยเช่นเดียวกับความสัมพันธ์เชิงบวกอาจเนื่องมาจากการส่งต่อความสำเร็จของชุมชนโดยผู้ที่ทำงานด้านสุขภาพของชุมชนซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการสนับสนุนหรือแรงจูงใจทางการเงินจากโครงการเช่นกัน การศึกษาของผู้หญิงมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการใช้บริการสาธารณสุข โดยไปในทิศทางเดียวกับโครงการศึกษาให้ความรู้ด้านอื่น เช่น โครงการศึกษาสุขภาพที่เกี่ยวกับการเจริญพันธุ์และการวางแผนครอบครัว การสนับสนุนหรือแรงจูงใจทางการเงินถูกแนะนำให้เพิ่มจำนวนการใช้บริการสาธารณสุขที่หน่วยอำนวยความสะดวกที่เป็นทางการและการปรับปรุงระบบการส่งต่อโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่หน่วยให้บริการระดับปฐมภูมิ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.476
dc.subject Medical economics -- Afghanistan en_US
dc.subject Medical care -- Afghanistan en_US
dc.subject Medical care -- Utilization -- Afghanistan en_US
dc.subject เศรษฐศาสตร์การแพทย์ -- อัฟกานิสถาน en_US
dc.subject บริการทางการแพทย์ -- อัฟกานิสถาน en_US
dc.subject บริการทางการแพทย์ -- การใช้ประโยชน์ -- อัฟกานิสถาน en_US
dc.title Spillover effects of demand side financing projects on health care utilization in Afghanistan en_US
dc.title.alternative ผลกระทบทางอ้อมของโครงการให้เงินช่วยเหลือเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ต่อการใช้บริการสาธารณสุขในประเทศอัฟกานิสถาน en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Health Economics and Health Care Management en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Nopphol.W@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.476


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record