DSpace Repository

การควบคุมหุ่นยนต์เคลื่อนที่ด้วยล้อที่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
dc.contributor.author มงคล เทียนวิบูลย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2007-09-18T08:15:51Z
dc.date.available 2007-09-18T08:15:51Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743344454
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4170
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 en
dc.description.abstract พัฒนาหุ่นยนต์เคลื่อนที่ด้วยล้อ ที่สามารถเคลื่อนที่ทั้งในแนวหน้า-หลัง แนวด้านข้างและหมุนรอบตัวเอง หรือการเคลื่อนที่ที่เกิดจากการรวมกันของการเคลื่อนที่ ทั้งสามแบบได้อย่างอิสระ โดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่าหนึ่งตัว ทำการควบคุมแบบขนาน กล่าวคือใช้ตัวประมวลผลกลางจำนวนหนึ่งตัว ส่งคำสั่งไปยังตัวประมวลผลของแต่ละล้อจำนวนสี่ตัว การทดสอบประกอบด้วยการหาผลตอบสนองของแต่ละล้อ ที่มีต่อคำสั่งความเร็วที่มีลักษณะเป็นฟังก์ชันขั้นขนาดต่างๆ เคลื่อนที่ในลักษณะแนวเส้นตรง พบว่าความผิดพลาดของระยะทางการเคลื่อนที่สูงสุดมีค่าไม่เกิน 5.4% ภายในระยะการเคลื่อนที่ 1.5 เมตร ด้วยความเร็วไม่เกิน 0.6 เมตรต่อวินาที ความผิดพลาดเชิงมุมเมื่อหมุนรอบตัวเอง มีค่าไม่เกิน 6.6% ต่อการหมุนรอบตัวเอง 1 รอบด้วยความเร็วไม่เกิน 2.1 เรเดียนต่อวินาที เคลื่อนที่เป็นวงปิดรูปสี่เหลี่ยม และแปดเหลี่ยม เพื่อหาผลของความผิดพลาดสะสมที่มีต่อตำแหน่งสุดท้าย โดยที่ความผิดพลาดสะสมดังกล่าวสามารถแก้ไขได้ โดยการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจรู้เพื่ออ้างอิงกับสภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นหัวข้อที่วิจัยต่อได้ในอนาคต en
dc.description.abstractalternative To develop an omni-directional wheeled mobile robot which can move in forward-backward direction, lateral and rotation or combination of these three motion. We develop a parallel control architecture for controlling the robot. The motion of the robot is actuated by four DC servomotors connected to the wheels. Each motor will be controlled by one processor. The central processor will responsible for sending the command to each wheel's local processor. The experiments consist of measuring transient response of each wheels with respect to the different magnitude step functions. The motion error will be investigated from straight-line motion, rotating motion and combination of both straight line and rotating motion. For the 1.5 meter straight-line with speed setting below 0.6 m/s and rotation at fixed position with speed setting below 2.1 rad/sec, the maximum error is 5.4% and 6.6% respectively. The motion in close-trajectory such as square and octagon are also investigated. Most of the errors are effect by theenvironment conditions such as slip. This error can be reduced by incorporate more sensors for detecting environment to improve perceptual acuity which can be the research topics in the future. en
dc.format.extent 12216806 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject หุ่นยนต์อุตสาหกรรม en
dc.subject หุ่นยนต์เคลื่อนที่ en
dc.title การควบคุมหุ่นยนต์เคลื่อนที่ด้วยล้อที่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ en
dc.title.alternative Control of an omni-directional wheeled mobile robot en
dc.type Thesis en
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline วิศวกรรมเครื่องกล en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor viboon.s@eng.chula.ac.th, Viboon.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record