DSpace Repository

Formulation of O/W Emulsions containing Rice Bran Oil from Various production methods and Evaluation of free radical Scavenging activity

Show simple item record

dc.contributor.advisor Ubonthip Nimmannit
dc.contributor.advisor Walapa Tatong
dc.contributor.author Rattanachot Mongkollikit
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Parmaceutical Science
dc.date.accessioned 2014-03-25T12:36:22Z
dc.date.available 2014-03-25T12:36:22Z
dc.date.issued 2007
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41921
dc.description Thesis (M.Sc. in Pharm)--Chulalongkorn University, 2007 en_US
dc.description.abstract The purposes of this study were to report the production methods of rice bran oil (RBO) that influence free radical scavenging activity, amount of γ-oryzanol and vitamin E. Also, to study the formulation of o/w emulsions from different RBO produced from 5 methods which are called as solvent extraction RBO (SE-RBO), bleached-solvent RBO (BSE-RBO), cold-pressed RBO (CP-RBO), bleached cold-pressed RBO (BCP-RBO) and refined RBO (RE-RBO), The free radical scavenging activity (IC50) of these RBOs were ranked from the highest to lowest, as follows: SE-RBO (IC50 = 2.23±0.22 mg/mL), CP-RBO (IC50 = 2.29±0.04 mg/mL), BSE-RBO (IC50 = 2.46±0.21 mg/mL), BCP-RBO (IC50 = 2.59±0.14 mg/mL) and RE-RBO (IC50 = 4.53±0.12 mg/mL). There were not significantly different between SE-RBO, BSE-RBO, CP-RBO, BCP-RBO (P>0.05) except RE-RBO which was significantly lower (P<0.05) in term of DPPH scavenging activity. The γ-oryzanol content were ranked from the highest to the lowest as follow: SE-RBO (14614.37±70.69 ppm), CP-RBO (13917.92±115.44 ppm), BSE-RBO (13199.41±120.57 ppm), BCP-RBO (12855.82±77.02 ppm), and RE-RBO (3487.03±100.02 ppm). The γ-oryzanol content for the different production methods were significantly different (P<0.05). Moreover, the amount of vitamin E for the processing of RBO showed that CP-RBO (527.83±0.26 ppm) had the highest vitamin E content follow by SE-RBO (442.83±0.23 ppm), BCP-RBO (357.57±0.38 ppm), BSE-RBO (350.94±0.38 ppm) and the RE-RBO (170.56±0.31 ppm) had the lowest vitamin E content. The estimated oxidative stability can be ranked from the lowest to highest as follows: BSE-RBO (0.48±0.97 h), BCP-RBO (2.86±0.16 h), RE-RBO (3.69±0.05 h), CP-RBO (9.39±1.07 h) and SE-RBO (9.93±0.21 h). In addition, O/W emulsions containing different RBO were formulated. All various RBO emulsions were approximately in acceptable range of skin pH (5-6). RE-RBO gave the most ‘satisfy’ with its color and spreadability. CP-RBO gave the most ‘satisfy’ with skin feel and BCP-RBO gave the most ‘satisfy’ with odor and smooth cream mass. On the other hand, SE-RBO gave the least score in all categories. Moreover, all formulations showed good physical stability after 6 cycles of temperature cycling.
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ข้อมูลให้ข้อมูลเกี่ยวกับฤทธิ์ในการกำจัดอนุมูลอิสระ ปริมาณแกมมาโอไรซานอลและวิตามินอี ของน้ำมันรำข้าวที่ได้จากกรรมวิธีการผลิตต่าง ๆ และการพัฒนาตำรับอิมัลชัลชนิดน้ำมันในน้ำที่มีส่วนผสมของน้ำมันรำข้าวที่ได้จากการผลิตต่าง ๆ จากการศึกษาน้ำมันรำข้าวที่ผลิตจากกรรมวิธีที่ต่างกัน 5 ชนิดได้แก่ น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัด (SE-RBO) น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสี (BSE-RBO) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็น (CP-RBO) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสี (BCP-RBO) และ น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ (RE-RBO) ฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ (IC50) เรียงลำดับจากมากสุดไปน้อยสุดได้ดังนี้ น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัด (IC50 = 2.23±0.22 mg/mL) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วีการบีบเย็น (IC50 = 2.29±0.04 mg/mL) น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสี (IC50 = 2.46±0.21 mg/mL) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสี (IC50 = 2.59±0.14 mg/mL) น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ (IC50 = 4.53±0.12 mg/mL) ซึ่งทุกตัวไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยกเว้นน้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ ที่ต่างจากน้ำมันรำข้าวชนิดอื่นที่กล่าวข้างต้นอย่างมีนัยสำคัญ การศึกษาปริมาณแกมมาโอไรซานอลเรียงลำดับจากมากสุดไปน้อยสุดพบว่าน้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดมีปริมาณแกมมาโอไรซานอลสูงที่สุดในปริมาณ 14614.37±70.69 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นพบในปริมาณ 13917.92±115.44 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสีพบในปริมาณ 13199.41±120.57 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้วีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสีพบในปริมาณ 12855.82±77.02 ppm และ น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวีทำให้บริสุทธิ์พบในปริมาณ 3487.03±100.02 ppm ส่วนปริมาณวิตามินอีเรียงลำดับจากมากสุดไปน้อยสุดพบว่าน้ำมันรำข้าวที่ใช้วีการบีบเย็นมีปริมาณมากที่สุดในปริมาณ 527.83±0.26 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดพบในปริมาณ 442.83±0.23 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสีพบใน ปริมาณ 357.57±0.38 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสีพบในปริมาณ 350.94 ppm และ น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีให้บริสุทธิ์พบในปริมาณ 170.56±0.31 ppm ส่วนการศึกษาความคงตัวต่อการเกิดออกซิเดชัน พบว่ากรรมวิธีการผลิตที่ต่างกันทำให้ความคงตัวต่อการเกิดออกซิเดชันต่างกันเรียงลำดับจากน้อยไปมากดังนี้ น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสี (0.48±0.07 h) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสี (2.86±0.16 h) น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ (3.69±0.05 h) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็น (9.39±1.07 h) และ น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัด (9.93±0.21 h) และ ในการพัฒนาตำรับของอิมัลชันชนิดน้ำมันในน้ำที่ pH 5-6 พบว่าน้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ ได้รับความพึงพอใจในเรื่องสีและการกระจายตัวของครีม น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นได้รับความพึงพอใจในด้านความนุ่มของครีมเมื่อทาบนผิวหนัง น้ำมันรำข้าวที่ใช้วีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสีได้รับความพึงพอใจในด้านกลิ่นและความเนียนของเนื้อครีม แต่ในน้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดพบว่าได้รับความพึงพอใจน้อยที่สุดในทุกการประเมิน ความคงตัวของอิมัลชันที่มีส่วนผสมของน้ำมันรำข้าวต่างชนิดกันพบว่ามีความคงตัวดีทางกายภาพ หลังจากผ่านการทดสอบด้วยสภาวะเร่ง (temperature cycling) จำนวน 6 รอบ
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.title Formulation of O/W Emulsions containing Rice Bran Oil from Various production methods and Evaluation of free radical Scavenging activity en_US
dc.title.alternative การพัฒนาตำรับอิมัลชันชนิดน้ำมันในน้ำที่มีส่วนผสมของน้ำมันรำข้าวที่ได้จากกรรมวิธีการผลิตต่างๆและการประเมินฤทธิ์ในการกำจัดอนุมูลอิสระ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Pharmaceutical Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Pharm - Theses [1269]
    วิทยานิพนธ์ คณะเภสัชศาสตร์

Show simple item record