DSpace Repository

ผลของกลุ่มพัฒนาตนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธด้วยการใช้การเคลื่อนไหวร่างกายเป็นสื่อต่อปัญญาในสตรีผู้ผ่านการรักษามะเร็งเต้านม

Show simple item record

dc.contributor.advisor ณัฐสุดา เต้พันธ์
dc.contributor.advisor กุลยา พิสิษฐ์สังฆการ
dc.contributor.author พรรณพนัช แซ่เจ็ง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2014-04-01T07:19:27Z
dc.date.available 2014-04-01T07:19:27Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42011
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกลุ่มพัฒนาตนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธด้วยการใช้การเคลื่อนไหวเป็นสื่อต่อปัญญาในสตรีผู้ผ่านการรักษามะเร็งเต้านมด้วยการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีผู้ผ่านการรักษามะเร็งเต้านม จำนวน 32 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่มและกลุ่มควบคุม 2 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน ระยะเวลาดำเนินกลุ่ม 24 ชั่วโมง ในระยะเวลาต่อเนื่อง 3 วัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดปัญญา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการทดลอง กลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธด้วยการใช้การเคลื่อนไหวร่างกายเป็นสื่อ มีคะแนนปัญญาสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 01 2) หลังการทดลอง กลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธด้วยการใช้การเคลื่อนไหวร่างกายเป็นสื่อ มีคะแนนปัญญาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 en_US
dc.description.abstractalternative This research study aimed to examine the effects of Buddhist personal growth and counseling group with body movement on PAÑÑĀ in females with post breast cancer treatment through a quasi-experimental with pretest-posttest control group design. Participants, 32 females who had completed a treatment for breast cancer for at least 6 months, were assigned into 2 experimental groups and 2 control groups, (N = 8 per group). Participants in the experimental groups attended a Buddhist personal growth and counseling group with body movement for 8 sessions in 3 consecutive days (24 hours in total). Prior to and after the group attendance, participants responded to the PAÑÑĀ Scale. t–test was then used for data analysis. Findings were as follows: 1. The posttest score on PAÑÑĀ Scale of the experimental group was significantly higher than the pretest score (p<.01). 2. The posttest score on PAÑÑĀ Scale of the experimental group was significantly higher than the posttest score of the control group (p<.05). en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1226
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม en_US
dc.subject เต้านม -- มะเร็ง -- การรักษา -- แง่จิตวิทยา en_US
dc.subject การเคลื่อนไหวบำบัด en_US
dc.subject พุทธศาสนา -- จิตวิทยา en_US
dc.subject Group counseling en_US
dc.subject Breast -- Cancer -- Treatment -- Psychological aspects en_US
dc.subject Movement therapy en_US
dc.subject Buddhism -- Psychology en_US
dc.title ผลของกลุ่มพัฒนาตนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธด้วยการใช้การเคลื่อนไหวร่างกายเป็นสื่อต่อปัญญาในสตรีผู้ผ่านการรักษามะเร็งเต้านม en_US
dc.title.alternative Effects of Buddhist personal growth and counseling group with body movement on PAÑÑĀ in females with post breast cancer treatment en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor tnattasuda@gmail.com
dc.email.advisor Kullaya.D@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.1226


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record