dc.contributor.advisor |
Khemarat Talerngsri |
|
dc.contributor.author |
Wasin Rojayaroon |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Economics |
|
dc.date.accessioned |
2015-06-23T03:52:09Z |
|
dc.date.available |
2015-06-23T03:52:09Z |
|
dc.date.issued |
2011 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42415 |
|
dc.description |
Thesis (M.Econ.)--Chulalongkorn University, 2011 |
en_US |
dc.description.abstract |
This study focuses on a conflict of interests regarding the intellectual property rights protections (IPRs) regime in a North-South context.In order to examine reaction of each related party,a duopolistic cournot game with cost-reducing R&D model is employed.We observe and compare equilibrium outcomes of 2 regimes : no protection regime and full protection regime.The mian feature of this study is an introduction of product differentiation between the North and the South products.The model of Poyago-Theotoky and Teerasuwannajak (2012) is extended to study the consequences of different degrees of product differentiation on the conflict of interests.The analysis leads to 2 main results :1.) IPR protection may fail to strengthen private R&D incentives if products are significantiy differentiated even when R&D productivity of the two countries are very different 2.)The conflict regarding the strength of IPRs protection regime is less severe as products become more differentiated. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาความขัดแย้งของมุมมองด้านนโยบายคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศที่เป็นผู้นำทางการคิดค้นเทคโนโลยีและประเทศที่เป็นผู้ตาม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อขัดแย้งนี้กับระดับความแตกต่างของสินค้า การศึกษาใช้แบบจำลองเกมส์ของผู้เล่นสองรายที่ทำงานวิจัยและพัฒนาเพื่อลดต้นทุนการผลิต โดยที่ฝ่ายผู้นำทางด้านการคิดค้นเทคโนโลยีมีความสามารถในการนำผลวิจัยไปใช้ลดต้นทุนการผลิตได้ดีกว่าผู้ตาม และสินค้าที่ผลิตจากประเทศผู้นำและประเทศผู้ตามมีลักษณะที่แตกต่างกัน ผลการศึกษาพบข้อสรุปที่สำคัญอยู่สองประการ 1.)นโยบายคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาอาจจะไม่ส่งผลให้ผู้ผลิตทำการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้นเสมอไปหากสินค้ามีความแตกต่างกันมากในระดับหนึ่ง 2.)แม้ว่าทั้งสองประเทศจะมีความสามารถในการนำผลวิจัยและพัฒนาไปใช้ต่างกันแต่ความขัดแย้งเกี่ยวกับนโยบายคุ้งครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาอาจจะไม่เกิดขึ้นถ้าสินค้ามีความแตกต่างกันมากพอ |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.110 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Intellectual property |
en_US |
dc.subject |
Commercial policy |
en_US |
dc.subject |
Economics |
en_US |
dc.subject |
ทรัพย์สินทางปัญญา |
en_US |
dc.subject |
นโยบายการค้า |
en_US |
dc.subject |
เศรษฐศาสตร์ |
en_US |
dc.subject |
การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา |
en_US |
dc.title |
Intellectual property rights protection,Rival's asymmetry and differentiated products |
en_US |
dc.title.alternative |
นโยบายคุ้มครองสิทธิทรัพย์สินทางปัญญากับความไม่สมมาตรในผลิตภาพในการวิจัยและพัฒนาและสินค้าที่มีความแตกต่างกัน |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Economics |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Economics |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2011.110 |
|