DSpace Repository

อิทธิพลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันกับองค์การต่อความตั้งใจลาออก

Show simple item record

dc.contributor.advisor คัคนางค์ มณีศรี en_US
dc.contributor.author สลักจิต ตันติบุญทวีวัฒน์ en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา en_US
dc.date.accessioned 2015-06-24T06:11:05Z
dc.date.available 2015-06-24T06:11:05Z
dc.date.issued 2556 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42624
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุของความตั้งใจลาออก โดยเปรียบเทียบอิทธิพลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันกับองค์การที่ส่งอิทธิพลต่อความตั้งใจลาออก โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในองค์การเอกชนต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 660 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดความเป็นส่วนหนึ่งในงาน, มาตรวัดความพึงพอใจในงาน, มาตรวัดความผูกพันกับองค์การ และมาตรวัดความตั้งใจลาออก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมลิสเรล (LISREL) ให้ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ โมเดลลิสเรลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันกับองค์การที่ส่งอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจลาออก พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 61.47, df = 50, p = .128, RMSEA = 0.019, RMR = 0.013, GFI = 0.99, AGFI = 0.971) โมเดลลิสเรลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจลาออก ได้ร้อยละ 58 ความผูกพันกับองค์การ และความพึงพอใจในงานส่งอิทธิพลทางลบอย่างมีนัยสำคัญต่อความตั้งใจลาออก (β = -0.67, β = -0.21) แต่ความเป็นส่วนหนึ่งในงานไม่ส่งอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจลาออก en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the validity of the causal model of intention to leave, and to compare the effects of job embeddedness, job satisfaction, and organizational commitment on intention to leave. Six hundred and sixty employees in the private sector completed a questionnaire measuring the job embeddedness, job satisfaction, organizational commitment, and intention to leave. LISREL analysis confirms that the LISREL model using job embeddedness, job satisfaction, and organizational commitment to predict intention to leave fit the data well (χ2 = 61.47, df = 50, p = .128, RMSEA = 0.019, RMR = 0.013, GFI = 0.99, AGFI = 0.971). The variables in the model accounted for 58% of variance of intention to leave. Organizational commitment and job satisfaction had negative significant direct effects on intention to leave (β = -0.67, β = -0.21, respectively). Job embeddedness had no effect on intention to leave. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.100
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การลาออก
dc.subject ความพอใจในการทำงาน
dc.subject ความผูกพันต่อองค์การ
dc.subject การทำงาน -- แง่จิตวิทยา
dc.subject Employees -- Resignation
dc.subject Job satisfaction
dc.subject Organizational commitment
dc.subject Work -- Psychological aspects
dc.title อิทธิพลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันกับองค์การต่อความตั้งใจลาออก en_US
dc.title.alternative EFFECTS OF JOB EMBEDDEDNESS, JOB SATISFACTION, AND ORGANIZATIONAL COMMITMENT ON INTENTION TO LEAVE en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor kakanang.M@chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.100


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record