DSpace Repository

อิทธิพลของการมีข้อมูลพื้นฐานต่อความแม่นยำในการจับโกหกและจับความจริง

Show simple item record

dc.contributor.advisor อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช en_US
dc.contributor.author ณัฐวุฒิ ชูแสง en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา en_US
dc.date.accessioned 2015-06-24T06:11:05Z
dc.date.available 2015-06-24T06:11:05Z
dc.date.issued 2556 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42626
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 en_US
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษา อิทธิพลข้อมูลพฤติกรรมพื้นฐานต่อความแม่นยำในการจับความจริง และความแม่นยำในการจับโกหก กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี จำนวน 240 คน โดยสุ่มเข้าสู่ 6 เงื่อนไข เงื่อนไขละ 40 คน เพศชาย 20 คน เพศหญิง 20 คน โดยการทดลองในแต่ละเงื่อนไขได้ชมวีดิทัศน์แตกต่างกันในเนื้อหา เมื่อผู้ร่วมงานวิจัยชมวีดิทัศน์เสร็จแล้วจึงตอบคำถาม ว่าบุคคลในวีดิทัศน์มีความเป็นไปได้ในการโกหก หรือพูดความจริงมากน้อยเพียงใด ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมพื้นฐานแบบตัวแสดงพูดความจริง ไม่ได้ทำให้ผู้ร่วมงานวิจัยมีความแม่นยำในการจับโกหก และความแม่นยำในการจับความจริงสูงกว่าเงื่อนไขอื่นๆ 2. พฤติกรรมพื้นฐานแบบตัวแสดงพูดโกหกไม่ได้ทำให้ผู้ร่วมงานวิจัยมีความแม่นยำในการจับความโกหก และความแม่นยำในการจับความจริงต่ำกว่ากลุ่มอื่นๆ 3. เพศ หญิงมีความแม่นยำในการจับโกหก และความแม่นยำในการจับความจริงแตกต่างกับเพศชาย en_US
dc.description.abstractalternative The purposes of this thesis were to study influences of exposure to baseline behavior information on accuracy of lie detection and truth detection. The participants were 240 undergraduate students, who were randomly assigned to 6 conditions one of which was presented to 40 students, consisting of 20 male and 20 females. After the participants had watched the video clips, they were required to evaluate the probability that the person in the video clip told the truth or the lie. Results show that: 1. The baseline behavior in which the actor tell the truth did not give higher accuracy of lie detection and truth detection. 2. The baseline behavior in which the actor tell the lie did not give lower accuracy of lie detection and truth detection. 3. Males and females have no different accuracy of lie and truth detection. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.111
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ข้อมูล
dc.subject การเปิดเผยข้อมูล
dc.subject ความจริงและความเท็จ
dc.subject Disclosure of information
dc.subject Truthfulness and falsehood
dc.title อิทธิพลของการมีข้อมูลพื้นฐานต่อความแม่นยำในการจับโกหกและจับความจริง en_US
dc.title.alternative INFLUENCE OF EXPOSURE TO BASELINE BEHAVIOR INFORMATION ON ACCURACY OF LIE AND TRUTH DETECTION en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor apitchaya.c@chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.111


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record