dc.contributor.advisor |
พรอนงค์ บุษราตระกูล |
en_US |
dc.contributor.author |
กิตติ ตั้งกาญจนภาสน์ |
en_US |
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
en_US |
dc.date.accessioned |
2015-06-24T06:21:48Z |
|
dc.date.available |
2015-06-24T06:21:48Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42839 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความแม่นยำของแบบจำลองในการประเมินความเสี่ยงในการผิดนัดชำระหนี้ระหว่างแบบจำลองประเภทที่ใช้การคำนวณมูลค่าออปชัน ได้แก่แบบจำลองเมอร์ตัน (Merton Model) แบบจำลองแบรีเออร์ ออปชัน (Barrier Option Model) แบบจำลองค่าเฉลี่ยระหว่างแบบจำลองเมอร์ตันและแบบจำลองแบรีเออร์ ออปชัน กับแบบจำลองที่ใช้การคำนวณจากอัตราส่วนทางการเงินซึ่งได้แก่ แบบจำลอง (Altman – Z – Score Model) โดยเก็บข้อมูลทุติยภูมิจากตราสารหนี้ภาคเอกชนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีการเปิดเผยอันดับความน่าเชื่อถือจากบริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือในช่วงปีพ.ศ.2545 ถึงพ.ศ.2554 ผลการวิจัยพบว่าแบบจำลองทั้งจำลองทั้งสี่แบบจำลองมีประสิทธิภาพในการจำแนกหุ้นกู้ภาคเอกชนที่มีอันดับความน่าเชื่อถือระหว่าง A- ถึง AAA กับ BBB+ หรือต่ำกว่าได้ ในส่วนของการเปรียบเทียบความแม่นยำนั้นแบบจำลองประเภทประเภทกลุ่มของออปชัน มีความแม่นยำในการพยากรณ์มากกว่าแบบจำลองที่ใช้การคำนวณจากอัตราส่วนทางการเงินแบบจำลอง โดยแบบจำลองเมอร์ตันมีความแม่นยำมากที่สุดแต่ประสิทธิภาพในการทำนายอันดับความอันดับความน่าเชื่อถือนั้นยังพบว่าไม่ค่อยมีประสิทธิภาพอันเนื่องมาจากอาจมีปัจจัยนอกเหนือจากข้อมูลทางการเงินที่ส่งผลต่ออันดับความน่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตามแบบจำลองทั้งสี่ยังคงมีประสิทธิภาพที่ดีในการวิเคราะห์บริษัทที่มีปัญหาทางการเงิน |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research aimed to study the performance of default-risk probability prediction models between option based models (Merton Model, Barrier Option Model and the average of probability from Merton Model and Barrier Option Model) and accounting based Model (Altman – Z – Score Model). Only corporate bonds with credit rating were selected as our sampling. The secondary data of these corporate bonds were analyzed from 2002 to 20011. The result revealed that all of four models could separate the bonds between bonds with credit rating A- to AAA and bonds with rating BBB+ or lower. The option based models had the better accuracy than accounting based model. Although, Merton Model had the best accuracy among these four models. All of them had poor performance to predict credit rating group dive to some other factors that might have influential on credit rating. However Altman-Z-Score model still had the good performance to predict the company that had financial problem. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.304 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การประเมินความเสี่ยง |
|
dc.subject |
หุ้นกู้บริษัท |
|
dc.subject |
การชำระหนี้ |
|
dc.subject |
Risk assessment |
|
dc.subject |
Corporate bonds |
|
dc.subject |
Performance (Law) |
|
dc.title |
ผลการพยากรณ์ของแบบจำลองโอกาสในการผิดนัดชำระหนี้ กรณีศึกษาหุ้นกู้ภาคเอกชนในประเทศไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
THE PERFORMANCE OF DEFAULT-RISK PROBABILITY PREDICTION MODELS: A CASE STUDY OF CORPORATE BONDS IN THAILAND |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
pornanong@acc.chula.ac.th |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2013.304 |
|