DSpace Repository

COST-EFFECTIVENESS OF ENDOVASCULAR COILING VERSUS SURGICAL CLIPPING IN RUPTURED CEREBRAL ARTERY ANEURYSM

Show simple item record

dc.contributor.advisor Oranuch Kyokong en_US
dc.contributor.author Rungsak Siwanuwatn en_US
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Medicine en_US
dc.date.accessioned 2015-06-24T06:36:46Z
dc.date.available 2015-06-24T06:36:46Z
dc.date.issued 2013 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43278
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract Background: Ruptured cerebral aneurysm is a catastrophic stroke. The surgical clipping and endovascular coiling are standard treatments to prevent rebleeding. There are strong evidences to support that endovascular coiling offers better outcome over surgical clipping. However the cost of coiling procedure weight against its clinical benefit. Objective: To compare the cost-effectiveness of endovascular coiling to surgical clipping in ruptured cerebral aneurysm patients in context of Thai health economic system. Study design: Markov model analytic Setting: King Chulalongkorn Memorial Hospital Research methodology: The Markov model was used to estimate the relevant treatment costs and outcome of ruptured cerebral aneurysm patients. The model input were retrieved from systematic reviews. Outcomes measurement, the clinical outcomes were converted to health outcomes by using Thai version EQ-5D questionnaire. Point of view is payer viewpoint. The data were collected from the medical records of the patients, who were admitted at King Chulalongkorn Memorial hospital with ruptured cerebral aneurysms from September, 1, 2007 to August, 31, 2009. The uncertainty analysis was performed by Probabilistic Sensitivity Analysis (PSA). Results: The endovascular coiling yield 0.85 QALYs gained compared to surgical clipping (11.32 QALYs ; 10.47 QALYs). The surgical clipping provided better cost-effectiveness ratio compared to endovascular coiling (305,694versus 414,538Thai baht(THB) per QALY). The Incremental cost-effectiveness ratio (ICER ) per QALY of endovascular coiling compared to surgical clipping is 1,755,912THB. Conclusion: It was found that the surgical clipping is cost-effective at Thai willing to pay (WTP) threshold of 160,000 THB per QALY gained, with probability 100%. To comply the Thai WTP threshold the endovascular coiling cost should be 29 percent less. en_US
dc.description.abstractalternative เหตุผลของการทำวิจัย: หลอดเลือดในสมองโป่งพองแตกเป็นโรคที่มี อัตราตาย และพิการสูง การผ่าตัดหนีบด้วยตัวหนีบ และ การใส่ขดลวด เป็นการรักษาที่มาตรฐาน หลักฐานเชิงประจักษ์สนับสนุนว่า การใส่ขดลวดให้ผลดีกว่า แต่ค่าใช้จ่ายในการใส่ขดลวดมีราคาสูงจนอาจบดบังประโยชน์ที่ได้รับ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่ายต่อประสิทธิภาพ ของการรักษาภาวะหลอดเลือดในสมองโป่งพองแตกด้วยการผ่าตัดหนีบด้วยตัวหนีบกับการใส่ขดลวด ในบริบทของประเทศไทย รูปแบบการวิจัย: วิเคราะห์แบบจำลอง มาร์คอฟ สถานที่ทำการศึกษา:โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ตัวอย่างและวิธีการศึกษา: วิเคราะห์ผลของการรักษาต่อต้นทุนในมุมมองผู้ให้บริการ ด้วยแบบจำลอง มาร์คอฟและการวิเคราะห์ความไม่แน่นอนแบบความน่าจะเป็น (probabilistic sensitivity analysis) โดยนำข้อมูลตัวแปรด้านประสิทธิภาพ จากทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบร่วมกับการสำรวจด้วยแบบสอบถามเรื่องสุขภาพ EQ-5D ตัวแปรด้านค่าใช้จ่ายจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่รักษาภาวะหลอดเลือดในสมองโป่งพองแตกด้วยการผ่าตัดหนีบด้วยตัวหนีบ และ การใส่ขดลวดในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยตั้งแต่ กันยายน 2550 ถึงสิงหาคม 2552 ผลการศึกษา: พบว่าการใส่ขดลวด ให้ผลการรักษาดีกว่าการผ่าตัดหนีบด้วยตัวหนีบ โดย เพิ่ม 0.85 ปีสุขภาวะ (11.32 ปีสุขภาวะ ;10.47 ปีสุขภาวะ) และ อัตราส่วนค่าใช้จ่ายประสิทธิภาพของการรักษาหลอดเลือดโป่งพองแตกด้วยการใส่ขดลวดเทียบกับการผ่าตัดหนีบด้วยตัวหนีบ มีค่าเท่ากับ 414,538และ305,694บาทต่อปีสุขภาวะ ตามลำดับ อัตราส่วนค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นเทียบกับประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นจากการรักษาด้วยสวนหลอดเลือดใส่ขดลวดเทียบกับการผ่าตัดหนีบหลอดเลือดโป่งพองแตกมีค่าเท่ากับ 1,755,912 บาทต่อปีสุขภาวะ สรุป: การรักษาหลอดเลือดโป่งพองแตกด้วยสวนหลอดเลือดใส่ขดลวดในประเทศไทย ไม่คุ้มค่าเมื่อเทียบกับการผ่าตัดหนีบหลอดเลือดโป่งพอง หากต้องการให้คุ้มค่าในระดับเต็มใจจ่ายของประเทศไทยที่160,000บาท การรักษาด้วยสวนหลอดเลือดใส่ขดลวดควรถูกลง ร้อยละ 29 en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.686
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Cerebrovascular disease
dc.subject Brain -- Surgery
dc.subject Cost effectiveness
dc.subject หลอดเลือดสมอง -- โรค
dc.subject สมอง -- ศัลยกรรม
dc.subject ต้นทุนและประสิทธิผล
dc.title COST-EFFECTIVENESS OF ENDOVASCULAR COILING VERSUS SURGICAL CLIPPING IN RUPTURED CEREBRAL ARTERY ANEURYSM en_US
dc.title.alternative การศึกษาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่อประสิทธิภาพของการรักษาหลอดเลือดสมองโป่งพองแตกระหว่างวิธีการใส่ขดลวดกับการผ่าตัดหนีบด้วยตัวหนีบ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Health Development en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor koranuch@hotmail.com en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.686


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record