DSpace Repository

FRACTURE STRENGTH AFTER FATIGUE LOADING OF ROOT CANAL TREATED CENTRAL INCISORS RESTORED WITH POST AND DIRECT COMPOSITE BUILD-UP

Show simple item record

dc.contributor.advisor Chalermpol Leevailoj en_US
dc.contributor.author Pawak Tungthangthum en_US
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry en_US
dc.date.accessioned 2015-06-24T06:36:52Z
dc.date.available 2015-06-24T06:36:52Z
dc.date.issued 2013 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43290
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract Purpose: This in vitro study was to evaluate the effect of remaining tooth height of root-canal-treated incisors restored with fiber posts and direct composite resin build-up on fracture strength and mode of failure. Methods: Forty-eight extracted human maxillary central incisors were randomly assigned to 1 of 4 groups: group 1 (0mm+post), group 2 (2mm+post), group 3 (2mm+no post), and group 4 (control). All specimens were subjected to a fatigue-loading device at 40 N with a 135° angle. When 250,000 loading cycles were reached, the surviving specimens were subjected to a static load. The presence of differences was analyzed by 1-way ANOVA, Turkey HSD test, and Chi-square analysis (α = .05). Results: All specimens reached 250,000 cycles. ANOVA showed a significant difference in fracture strength (p-value < .0001). The highest mean fracture strength was recorded for group 4 at 1326.13 ± 145.25 N, followed by group 2 at 696.29 ± 191.75 N, group 1 at 592.80 ± 128.10 N, and group 3 at 234.65 ± 80.10 N. There was no significant differences in fracture strength between group 1 and group 2 (p-value > .05). Most failures in group 4 occurred due to root fracture. While in group 3, most fracture lines occurred in tooth structure above the CEJ. The coronal failures of composite resin build-up occurred only in group 1. The fractures in group 2 mainly involved tooth structure below the CEJ. When the mode of failure was evaluated, statistically significant differences were noted between groups 1 and group 2, also group 2 and group 3 (p-value < .05). Conclusions: The remaining coronal tooth structure did not increase the fracture strength of a direct composite resin build-up on root-canal-treated incisors. The presence of a fiber post improved the fracture strength of incisors restored with direct composite resin build-up, regardless of coronal height. en_US
dc.description.abstractalternative วัตถุประสงค์: การศึกษานี้เพื่อประเมินผลความสูงของตัวฟันตัดบนที่เหลืออยู่ภายหลังการรักษาคลองรากฟัน และบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตแบบก่อโดยตรงร่วมกับเดือยฟัน ต่อความต้านทานการแตกหัก และรูปแบบการ แตกหัก วิธีการศึกษา: นำฟันตัดมนุษย์ซี่กลางบนจำนวน 48 ซี่ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ไม่มีส่วนตัวฟัน ร่วมกับบูรณะใช้เดือยฟัน กลุ่มที่ 2 มีส่วนตัวฟัน 2 มิลลิเมตร ร่วมกับบูรณะใช้เดือยฟัน กลุ่มที่ 3 มีส่วนตัวฟัน 2 มิลลิเมตร ร่วมกับบูรณะไม่ใช้เดือยฟัน และกลุ่มที่ 4 ฟันเต็มซี่ไม่ผ่านการบูรณะเป็นกลุ่มควบคุม นำมาผ่านภาระความล้าจำนวน 250,000 รอบ ด้วยแรง 40 นิวตัน แล้วนำไปทดสอบแรงกดจนเกิดการแตกหัก ผลการทดสอบที่ได้นำมาวิเคราะห์ทางสถิติด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว การวิเคราะห์แบบตูเกร์สำหรับความแตกต่างของแต่ละกลุ่มทดลอง และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของรูปแบบการแตกหักด้วยไคสแคว์ ที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการศึกษา: ชิ้นงานทั้งหมดสามารถผ่านภาระความล้า 250,000 รอบได้ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวพบว่ามีความแตกต่างของความต้านทานการแตกหักระหว่างกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .0001) ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่ากลุ่มควบคุมมีความต้านทาน การแตกหักสูงสุด (1326.13 ± 145.25 นิวตัน) ตามด้วย กลุ่มที่ 2 (696.29 ± 191.75 นิวตัน) กลุ่มที่ 1 (592.80 ± 128.10 นิวตัน) และกลุ่มที่ 3 (234.65 ± 80.10 นิวตัน) ซึ่งความต้านทานการแตกหักของกลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2 ไม่มีความต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value > .05) รูปแบบการแตกหัก ในกลุ่มที่ 1 ส่วนใหญ่เกิดบริเวณรอยต่อเรซินคอมโพสิต กับฟัน กลุ่มที่ 2 ส่วนใหญ่เกิดบริเวณใต้รอยต่อเคลือบรากฟันกับเคลือบฟัน กลุ่มที่ 3 ส่วนใหญ่เกิดบริเวณรอยต่อเคลือบ รากฟันกับเคลือบฟัน และกลุ่มควบคุมส่วนใหญ่เกิดบริเวณรากฟัน เมื่อวิเคราะห์ด้วยสถิติไคสแคว์พบว่ารูปแบบการแตกหักระหว่างกลุ่มที่ 1 กับ กลุ่มที่ 2 และ กลุ่มที่ 2 กับ กลุ่มที่ 3 มีความแตกต่างดันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .05) บทสรุป: ความสูงตัวฟันที่เหลืออยู่ ไม่มีผลต่อความต้านทานการแตกหักของฟันตัดบนซี่กลางที่ผ่านการรักษาคลองรากฟันและบูรณะด้วยวิธีก่อเรซินคอมโพสิตโดยตรง อย่างไรก็ตามเมื่อมีการใช้เดือยฟันร่วมในการบูรณะจะช่วยเพิ่มความต้านทานการแตกหักให้แก่ฟันตัดบนซี่กลางที่ผ่านการรักษาคลองรากฟันและบูรณะด้วยวิธีก่อเรซินคอมโพสิตโดยตรง en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.705
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Dental pulp cavity
dc.subject Dental implants
dc.subject คลองรากฟัน
dc.subject ทันตกรรมรากเทียม
dc.title FRACTURE STRENGTH AFTER FATIGUE LOADING OF ROOT CANAL TREATED CENTRAL INCISORS RESTORED WITH POST AND DIRECT COMPOSITE BUILD-UP en_US
dc.title.alternative ความทนต่อการแตกหักของฟันตัดกลางที่ผ่านการรักษาคลองรากฟันซึ่งบูรณะด้วยเดือยร่วมกับการก่อคอมโพสิตโดยตรงภายหลังการให้ภาระความล้า en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Esthetic Restorative and Implant Dentistry en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Chalermpol.l@chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.705


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record