DSpace Repository

EFFECT OF VIDEO GAME COMMERCIAL ON SHORT TERM BALANCE TRAINING IN THAI ELDERLY

Show simple item record

dc.contributor.advisor Anchalee Foongchomcheay en_US
dc.contributor.author Kanokporn Pooranawatthanakul en_US
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences en_US
dc.date.accessioned 2015-06-24T06:36:54Z
dc.date.available 2015-06-24T06:36:54Z
dc.date.issued 2013 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43294
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract The objectives of this study were to compare the effect of video game commercial exercise and home based exercise on short-term effect in improving balance in the elderly. Methods: Forty-eight healthy elderly, age 65-80 years were included. Participants were randomized into a video game based exercise (Wii) group (n=24) and a home based exercise group (n=24). The Wii group was set at Phra Nung Kloa hospital elderly club and received video game exercise 30-45 minutes per day, 3 days a week, for 4 weeks. The home based group was received self-monitored exercise for 30 minutes, 3 times a week, for 4 weeks. The home based group was reminded about the exercises by the researcher via telephone twice a week and also received a handbook to prevent fall. Berg Balance Scale (BBS), Fullerton Advance Balance Scale (FAB), and Functional Reach Test (FRT) were evaluated at the beginning of training, the end of week 1, 2, 3 and at the completed of the training on week 4. Results: Repeated two way ANOVA showed no significantly different reach distance (FRT) when compared Wii group and home base group at the end of week 4 (p = 0.144). Both groups showed significantly improved reach distance (FRT) started at the end of week 1, score of FAB and BBS at the end of week 2 and 3 respectively (p<0.05). No significantly different between groups in BBS and FAB was found. Conclusion: Video game based exercise and home based exercise improved balance in the elderly demonstrating by increased scores of BBS, FAB and reach distance (FRT) after 4 weeks training, indicating improvement of balance and implied the reduction of risks of fall in the elderly. en_US
dc.description.abstractalternative การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลระยะสั้นของการออกกำลังกายด้วยเครื่องวีดีโอเกมส์ประจำบ้าน และการออกกำลังกายที่บ้านในผู้สูงอายุ ในการเพิ่มความสามารถการทรงตัว วิธีดำเนินการ: ผู้เข้าร่วมวิจัยอายุ 65–80 ปี จำนวน 48 คน ได้รับการสุ่มออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1) กลุ่มออกกำลังกายด้วย เครื่องวีดีโอเกมส์ประจำบ้าน (n=24) 2) กลุ่มออกกำลังกายที่บ้าน (n=24) โดยกลุ่มออกกำลังกายด้วยเครื่องวีดีโอเกมส์ประจำบ้านทำการออกกำลังกายที่ ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ครั้งละ 30-45 นาที ต่อวัน 3 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ และกลุ่มออกกำลังกายที่บ้านได้รับการออกกำลังกายด้วยตนเอง ครั้งละ 30 นาที ต่อวัน 3 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ และกลุ่มออกกำลังกายที่บ้านนี้ผู้วิจัยได้โทรเตือนผู้เข้าร่วม เรื่องการออกกำลังกายที่บ้าน 2 ครั้งต่อสัปดาห์ และได้รับคู่มือป้องกันการล้ม ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมดจะถูกประเมินด้วย แบบประเมินความสามารถในการทรงตัวของเบิร์ก ฟุลเลอตัน และการวัดความสามารถในการเอื้อมมือ ก่อนการฝึก เมื่อสิ้นสุดการฝึกสัปดาห์ที่ 1 2 3 และ 4 ผลการวิจัย: เมื่อคำนวณด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทิศทาง พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ของระยะทางการเอื้อม แบบประเมินความสามารถในการทรงตัวของเบิร์ก และ ฟุลเลอตัน ระหว่าง กลุ่มออกกำลังกายด้วยเครื่องวีดีโอเกมส์ประจำบ้าน และ กลุ่มออกกำลังกายที่บ้าน (p = 0.144) ทั้งสองกลุ่มมีค่าระยะทางการเอื้อม พัฒนาดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 1 ของการฝึก และคะแนนของแบบประเมินความสามารถในการทรงตัวของเบิร์ก และ ฟุลเลอตัน เพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ p < 0.05 เมื่อสิ้นสุดการฝึก สัปดาห์ที่ 2 และ 3 ตามลำดับ สรุปผลการวิจัย: การออกกำลังกายด้วยเครื่องวีดีโอเกมส์ประจำบ้านและการออกกำลังกายที่บ้าน สามารถเพิ่มคะแนนของแบบประเมินความสามารถในการทรงตัวของเบิร์ก ฟุลเลอตัน และเพิ่มระยะทางการเอื้อม ของการวัดความสามารถในการเอื้อม หลังสิ้นสุดการฝึก 4 สัปดาห์ ชี้ให้เห็นว่าความสามารถ ในการทรงตัวของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น และอาจบ่งบอกถึงการลดลงของความเสี่ยงต่อการล้มของผู้สูงอายุ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.700
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Exercise for older people
dc.subject Equilibrium (Physiology)
dc.subject การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
dc.subject การทรงตัว
dc.title EFFECT OF VIDEO GAME COMMERCIAL ON SHORT TERM BALANCE TRAINING IN THAI ELDERLY en_US
dc.title.alternative การศึกษาผลของวิดีโอเกมส์ประจำบ้านต่อการฝึกการทรงตัวระยะสั้นในผู้สูงอายุไทย en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Physical Therapy en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor anchalee.f@chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.700


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record