dc.contributor.advisor |
วนิดา หลายวัฒนไพศาล |
en_US |
dc.contributor.advisor |
กิตตินันท์ โกมลภิส |
en_US |
dc.contributor.author |
อัจจิมา กาญจนาภา |
en_US |
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์ |
en_US |
dc.date.accessioned |
2015-06-24T06:36:55Z |
|
dc.date.available |
2015-06-24T06:36:55Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43296 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 |
en_US |
dc.description.abstract |
โรคไตจากเบาหวานเป็นโรคแทรกซ้อนที่พบบ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน การตรวจไมโครอัลบูมินในปัสสาวะเป็นที่ยอมรับว่าเป็นตัวบ่งชี้ที่มีความไวสูงที่สามารถตรวจพบความผิดปกติของโรคไตจากเบาหวานได้ในระยะแรก ในงานวิจัยนี้ได้มีการพัฒนาวิธีอิมมูโนโครมาโทกราฟีในรูปแบบแถบทดสอบ สำหรับตรวจคัดกรองภาวะไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ โดยนำโมโนโคลนัลแอนติบอดีที่จำเพาะต่ออัลบูมินในคนมาตรึงบนอนุภาคทองคำระดับนาโนเมตร และใช้เป็นส่วนคอนจูเกทในแถบทดสอบ ทำการตรึงซีรัมอัลบูมินของมนุษย์ (Human serum albumin, HSA) บนกระดาษไนโตรเซลลูโลสตรงตำแหน่งเส้นทดสอบ และตรึงแอนติบอดีทุติยภูมิต่อแอนติบอดีของหนู ตรงตำแหน่งเส้นควบคุม แถบตรวจนี้ใช้หลักการแบบแย่งจับ ระหว่างอัลบูมินในปัสสาวะที่ไหลมากับอัลบูมินที่ถูกตรึงบนตำแหน่งเส้นทดสอบในการจับกับแอนติบอดีที่ตรึงบนอนุภาคทองคำระดับนาโนเมตร ความเข้มข้นที่เหมาะสมที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างโมโนโคลนัลแอนติบอดีและอนุภาคทองระดับนาโนเมตรคือ 40 มิลลิกรัมต่อลิตรและ 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ความเข้มข้นที่เหมาะสมสำหรับทั้ง HSA ที่ตรึงบริเวณเส้นทดสอบ และแอนติบอดีทุติยภูมิที่ตรึงตรงตำแหน่งเส้นควบคุม คือ 1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร แถบตรวจไมโครอัลบูมินในปัสสาวะที่พัฒนาได้สามารถวัดอัลบูมินในปัสสาวะและรายงานเป็นผลบวกได้เมื่ออัลบูมินมีความเข้มข้นมากกว่า 23.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อเปรียบเทียบผลการตรวจวัดไมโครอัลบูมินในปัสสสาวะกับวิธีอิมมูโนเทอบิไดมิทรี โดยใช้ปัสสาวะจากผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 100 ราย (n=100) ผลการทดลองพบว่าแถบตรวจมีความไว 96 % ความจำเพาะ 100 % ค่าความถูกต้อง 99 % ยิ่งไปกว่านี้ ด้วยวิธีนี้มีค่าทำนายผลบวก 100% และค่าทำนายผลลบ 98% |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Diabetic nephropathy is the most common complications in patients with diabetes mellitus. Microalbuminuria has been widely used as an early marker for diabetic nephropathy. In this research, we developed immunochromatographic strip test for screening and detection of microalbuminuria. Monoclonal antibody specific to human serum albumin (HSA) was conjugated with gold nanoparticles and blotted on a conjugated pad. HSA antigen was immobilized on a nitrocellulose membrane at a test line, while the secondary anti-mouse antibody was immobilized at a control line. The assay principle was based on a competition between migrating HSA in urine and the HSA immobilized on the test line for binding with HSA antibody conjugated with colloidal gold particles. Optimal concentrations for conjugation of HSA monoclonal antibody with gold nanoparticles were 40 mg/L for the antibody and 100 mg/L for the gold particles. The optimal concentration for immobilized HSA at the test line and the optimal concentration of the secondary antibody at the control line were both at 1 mg/ml. Cut-off concentration for urinary albumin test in this study was 23.5 mg/L. Results obtained by strip test developed in this study were comparable with results obtained by immunoturbidimetric method used for determination of microalbuminuria in diabetes patients (n=100). The sensitivity, specificity, and accuracy of strip test developed in this study were 96%, 100%, and 99%, respectively. Furthermore, the method gained 100% and 98% positive and negative predictive values, respectively. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.701 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไต -- โรค |
|
dc.subject |
เบาหวาน -- ผู้ป่วย |
|
dc.subject |
Kidneys -- Diseases |
|
dc.subject |
Diabetics |
|
dc.title |
การพัฒนาวิธีอิมมูโนโครมาโทกราฟี สำหรับตรวจคัดกรองไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ |
en_US |
dc.title.alternative |
DEVELOPMENT OF AN IMMUNOCHROMATOGRAPHIC ASSAY FOR SCREENING DETECTION OF MICROALBUMINURIA |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
ชีวเคมีคลินิกและอณูทางการแพทย์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
wanida.k@chula.ac.th |
en_US |
dc.email.advisor |
kittinan.k@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2013.701 |
|