DSpace Repository

+45T/G AND +276G/T SINGLE NUCLEOTIDE POLYMORPHISM OF ADIPONECTIN GENE IN KNEE OSTEOARTHRITIS

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sittisak Honsawek en_US
dc.contributor.author Dong Zhan en_US
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Medicine en_US
dc.date.accessioned 2015-06-24T06:39:06Z
dc.date.available 2015-06-24T06:39:06Z
dc.date.issued 2013 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43529
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract Purpose: The objective of this study was to investigate the allele frequencies and genotype distributions of +45T/G (rs2241766) and +276 G/T (rs1501299) polymorphisms in AdipoQ gene, plasma adiponectin levels, and their associations in Thai knee osteoarthritis (OA) patients. Methods: Plasma samples were collected from 105 patients and 94 controls. Genomic DNA was isolated from peripheral blood of 202 patients and 196 controls. The polymerase chain reaction-restriction fragment length polymorphism (PCR-RFLP) was used to detect genotypes of +45T/G and +276G/T. The enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) was used to measure plasma adiponectin levels. Results: No statistically significant differences were identified between the two groups with respect to genotype distributions and allele frequencies of +45T/G and +276G/T (P>0.05). For +276G/T, significant differences were identified between Kellgren-Lawrence (KL) grade 2 and grade 3 (P=0.046), and between KL grade 2 and grade 4 (P=0.037) patients in the BMI <25 kg/m2 subgroup, a significant difference was found in the GG genotype of +45T/G (P+0.023). The mean plasma adiponection level of the OA group was lower than that of the control group (2.58+0.61 v.s. 2.78+0.68 ug/ml, P=0.033). Female plasma adiponection levels were higher than male levels in the control, OA and total group(p<0.05). Additionally , plasma adiponection levels of of female controls were statistically higher than females in the OA group (P<0.001). Plasma adiponection levels of the GG genotype were statistically higher than those of TT genotype at both the +45T/G and + 276 G/T loci, plasma adiponection levels of the control group were significantly higer than of the OA patient group (p=0.029, P+0.012 , respectively ). OA patients with th eGG genotype at the +276 G/T locus tended to have a higher than severity of OA when compared with GT and TT genotypes. Conclusion: The +45T/G and +276 G/T polymorphisms were not associated with the susceptibility of knee OA in a Thai population. However, GG genotypes of +45 t/G and + 276G/T polymorphism were associated with plasma adiponection levels in control and OA groups. High plasma adiponection levels may play a proctective role un the pathogenesis of knee OA, especially in Thai women. en_US
dc.description.abstractalternative เป้าหมาย:วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือเพื่อศึกษาความถี่ของอัลลีลและการกระจายตัวของจีโนไทป์ของความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนอะดิโพเนกตินที่ตำแหน่ง +45T/G(rs2241766) และ +276G/T(rs1501299) ในยีน AdipoQ ปริมาณอะดิโพเนกตินในพลาสมาและความสัมพันธ์ในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมชาวไทย วิธีทำ: ตัวอย่างพลาสมาได้จากผู้ป่วย 105 คน และคนปกติ 94 คน ตัวอย่างดีเอ็นเอสกัดจากเลือดของผู้ป่วย 202 คน และคนปกติ 196 คน ศึกษาจีโนไทป์ของ +45T/G และ +276G/T โดยใช้เทคนิค polymerase chain reaction-restriction fragment length polymorphism (PCR-RFLP) และศึกษาปริมาณอะดิโพเนกตินโดยใช้เทคนิค enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) ผลการทดลอง: ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแง่ของการกระจายตัวของจีโนไทป์และความถี่ของอัลลีลของ +45T/G และ +276G/T ระหว่างสองกลุ่ม (P>0.05) สำหรับ +276G/T พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างผู้ป่วยที่มีระดับความรุนแรงในกลุ่ม Kellgren-Lawrence (KL) เกรด 2 และ 3 (P=0.046) และระหว่าง เกรด 2 และ 4 (P=0.037) ในกลุ่มที่มีค่า BMI น้อยกว่า 25 kg/m2 พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญใน GG จีโนไทป์ของ +45T/G (P=0.023) ค่าเฉลี่ยของปริมาณอะดิโพเนกตินในพลาสมาของกลุ่มผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมน้อยกว่าในกลุ่มคนปกติ (2.58±0.61,2.78±0.68 µg/ml, P=0.033) ปริมาณอะดิโพเนกตินในพลาสมาของผู้หญิงสูงกว่าผู้ชายทั้งกลุ่มควบคุม กลุ่มผู้ป่วย และกลุ่มที่รวมประชากรทั้งหมดในการศึกษา (P<0.05) นอกจากนี้ปริมาณอะดิโพเนกตินในพลานสมาของผู้หญิงปกติสูงกว่าผุ้หญิงที่เป็นดรคข้อเข่าเสื่อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.001) ปริมาณอะดิโพเนกตินในพลาสมาGG จีโนไทป์สูงกว่า TT จีโนทป์ทั้งใน +45T/G และ+276G/T ในกลุ่มคนปกติ (p=0.019 และ P=0.046 ตามลำดับ ) สำหรับGG จีโนไทป์ของทั้งสองตำแหน่งปริมาณอะดิโพเนกตินในพลาสมาของกลุ่มคนปกติสูงกว่ากลุ่มผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=0.0259 และP=0.012 ตามลำดับ) ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีGG จีโนไทป์ที่ตำแหน่ง+276 G/T มีแนวโน้มที่จะมีความรุนแรงของโรคข้อเข้าเสื่อมมากกว่า GT และ TT จีโนไทป์ สรุป ความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนอะดิโพเนกตินที่ตำแหน่ง +45T/G และ+276G/T ไม่มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข้าเสื่อมในชาวไทย แต่อย่างไรก็ตาม GG จีโนไทป์ +45T/G และ+276G/T สัมพันธ์กับปริมาณอะดิโพนเนกตินในพลาสมาของกลุ่มคนปกติและกลุ่มผู้ป่วย อะดิโพเนติกในปริมาณสูงอาจมีส่วนช่วยป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิง en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.967
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Heredity
dc.subject Knee -- Diseases
dc.subject พันธุกรรม
dc.subject ข้อเข่า -- โรค
dc.title +45T/G AND +276G/T SINGLE NUCLEOTIDE POLYMORPHISM OF ADIPONECTIN GENE IN KNEE OSTEOARTHRITIS en_US
dc.title.alternative ความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนอะดิโพ เนกติน (adiponectin) ที่ตำแหน่ง+45T/G และ +276G/T ในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Medical Science en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor sittisak.h@chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.967


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record